Evaluation of Active Learning Elements and Process in Higher Education Institute for the 21st Century (in Thai)
Main Article Content
Abstract
The Learners have to lead themselves through learning society at the 21st Century. Among variety of important learning components, they need to develop themselves as a self-directed leader, being well knowing person, problem-solving ability and being working as a team leader or member. They have to adaptive themselves as a creative and critical thinking person, love of learning, synthesize and sharing their knowledge, application it’s for their working and daily living as a happy person. The higher education institute needs to assessment of their sustained active learning components and development of their active learning systems, planning and working strategies, supporting materials, active learning environment and climate for further efficient of active learning process that focus on various effective learning outcomes of the learners. The development of active learning process should be continuum at a policy level through operational level, coverage the attitudes, knowledge and understanding of active learning styles of all related personnel, administrators, academic members, supporters, learning providers and the learners. The assessment of the active learning components can declare their sustained structure of active learning components and can direct them going on their future images of active learning process of the institute and open the opportunity for full step by step development of the education process in the institute.
การประเมินองค์ประกอบและการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน ที่ผู้เรียนต้องก้าวเข้าสู่ยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญที่เกี่ยวข้องอย่างหลาก หลายในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรอบรู้ สามารถนำตนเอง แก้ปัญหาและทำงานเป็นทีมได้ การพัฒนาการเรียนรู้เชิงรุกเกี่ยวข้องกับ การสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนใฝ่รู้ มีความสามารถ ในการสื่อสาร การใช้ภาษาและเทคโนโลยี สารสนเทศ ผู้เรียนจำเป็นต้องปรับปรุงตนเอง ให้เป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ สามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ แลกเปลี่ยน ความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงานและ การใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติสุขสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจำเป็นต้องประเมินองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เชิงรุกที่มีอยู่และพัฒนาระบบ กลไก สิ่งสนับสนุน และ สิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยมุ่งให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้เชิงรุกต้องดำเนินการ ต่อเนื่องตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติการโดยคำนึงถึงมิติที่ เกี่ยวกับเจตคติ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้เชิงรุกของ บุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้องและสิ่งสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก การประเมินองค์ประกอบในมิติดังกล่าวของการเรียนรู้เชิงรุกทำให้ได้ทราบต้นทุนการเรียนรู้เชิงรุกที่มีอยู่เพื่อต่อยอดการพัฒนาอย่างมีทิศทาง ทำให้เกิดภาพอนาคตของกระบวนการเรียนเชิงรุกในสถาบันการศึกษาและสามารถพัฒนากระบวนการศึกษาของสถาบันได้อย่างมีขั้นตอนเต็มตามศักยภาพ
Article Details
Copyright: CC BY-NC-ND 4.0