การให้บริการตามหลักพุทธธรรมของโรงพยาบาลราชบุรี

ผู้แต่ง

  • ฐานิดา พานิชเจริญ 257 หมู่ที่1 ตำบลหินกอง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

คำสำคัญ:

การให้บริการ, หลักพุทธธรรม, โรงพยาบาลราชบุรี

บทคัดย่อ

บทความนี้เพื่อศึกษาการให้บริการ เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน และศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะสำหรับการให้บริการตามหลักพุทธธรรมของโรงพยาบาลราชบุรี เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่า การให้บริการตามหลักพุทธธรรมของโรงพยาบาลราชบุรี โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ มีผลให้ความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการตามหลักพุทธธรรมของโรงพยาบาลราชบุรี โดยภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัญหาและอุปสรรค คือ บุคลากรบางคนไม่ให้คำแนะนำที่ดีกับญาติของผู้ป่วย บุคลากรบางคนพูดจาด้วยถ้อยคำที่แข็งกระด้าง ดังนั้น ควรพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีจิตสำนึกในการให้บริการที่ดี ควรพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถควบคุมกิริยาให้สุภาพได้ในทุกสถานการณ์ และควรพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีเทคนิคในการสร้างความไว้วางใจและความคุ้นเคยกับผู้รับบริการ

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐวีร์ภัทร์ ถิ่นมีผล. (2553). ทัศนะของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อประสิทธิภาพการบริหารงาน บริการของตำรวจท่องเที่ยว ตามหลักสังคหวัตถุ 4 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ธิดารัตน์ ศิละวรรณโณ. (2553). ความคิดเห็นของพนักงานส่วนตำบลต่อการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลตามหลักสังคหวัตถุ 4 กรณีศึกษา อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พนิตตา นรสิงห์. (2552). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2546). คำวัด. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อำเภอ ปยุตฺโต). (2550). ธรรมนูญชีวิตำบล (พิมพ์ครั้งที่ 82). กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์สวย จำกัด.

พฤกษา พุทธรักษ์. (2552). การบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรตามหลักสังคหวัตถุ 4: กรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรในเขตจังหวัดนครนายก (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มณีนุช ไพรดี. (2553). การนำหลักสังคหวัตถุ 4 ไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อนงค์นาฏ แก้วไพฑูรย์. (2553). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการตามหลักสังคหวัตถุของฝ่ายทะเบียนที่ว่าการอำเภอเมืองจังหวัดนครสวรรค์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-25