“เคยจีกะลา” (กะปิปิ้ง) : วิถีแห่งอาหารและการกินภาคใต้ ว่าด้วยการเชื่อมสัมพันธ์และมิตรภาพ

ผู้แต่ง

  • พระครูภาวนาจันทคุณ (กรีฑา จนฺทสาโร) วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • พระครูสมุห์ดิษฐภูมิ จิรธมฺโม วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • พระครูเนกขัมธรรมธาร (มนูญ จารุวณฺโณ) วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • สุภาภรณ์ โสภา วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • สุขอุษา นุ่นสุข วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • ภัชลดา สุวรรณนวล วัดป่าเขาหัวช้าง จังหวัดนครศรีธรรมราช

คำสำคัญ:

เคยจีกะลา (กะปิปิ้ง), วิถีแห่งอาหารและการกินภาคใต้, มิตรภาพและการเชื่อมสัมพันธ์

บทคัดย่อ

บทความนี้สะท้อนคิดจากเรื่องเล่าในการลงพื้นที่วิจัย โดยมีภาพจำเป็นความประทับใจ  โดยเรื่องที่ประสบพบเจอผ่าน “เคยจี-กะปิปิ้ง” วิถีแห่งอาหารมาบันทึกเล่าแบ่งปันผ่านเรื่องเล่า พูดคุยสะท้อนคิด นำมาค้นคว้าเพิ่มเติมกับเอกสาร งานวิจัย นำเสนอสะท้อนคิดแบบความเรียง

ผลการบันทึกสะท้อนคิดพบว่า วิถีแห่งอาหารในวิถีแบบภาคใต้ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ที่ผ่านภูมิปัญญา การประดิษฐ์สร้าง รวมทั้งเป็นความลงตัวที่ผสมผสานระหว่างอัตตลักษณ์เชิงพื้นที่ โดยมีทรัพยากรที่มาจากทะเล สู่การถนอมอาหาร การนำกะลาในเชิงพื้นที่มีอยู่จำนวนมากมาเป็นอุปกรณ์ในการถนอมอาหาร และอาหารนั้นถูกนำมาเป็นส่วนผสมที่ลงตัวในครัว ในแบบเคยจี พร้อมเครื่องเคียง และอาหาร ทำให้เคยจีกลายเป็นช่องทางสร้างมิตรภาพผ่านการกิน สะท้อนอัตตลักษณ์เชื่อมประสานเป็นมิตรภาพระหว่างกัน ดังพุทธพจน์ที่ว่า “เนกาสี ละภเต สุขัง” แบ่งกันกินจึงจะมีสุข เคยจีที่อยู่ในครัว จึงถูกนำมาเป็นอาหารบนโต๊ะในคราวนี้ด้วย พร้อมเชื่อมประสานเป็นมิตรภาพผ่านการกินในที่สุด

References

ทัตดารา กาญจนกุญชร และคณะ. (2560). วิวัฒนาการเครื่องแกงไทย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(ฉบับพิเศษ), 249-266.

นพา ลีละศุภพงษ์. (2564). ภูมิปัญญาทางอาหารในช่วงอุทกภัยของชาวบ้านในหมู่บ้าน หัวตะพานมอญ ตำบลวัดยม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา, 13(1), 87-99.

นิลุบล ไพเราะ. (2562). ปลาร้า - ปลาแดก : การสื่อสารและผลิตซ้ำความหมาย "มิตรภาพ"ในความสัมพันธ์ไทย – ลาว. วารสารการเมืองการปกครอง, 9(3), 187-218.

ประกิจ พงษ์พิทักษ์. (2016). การสร้างสรรค์ชุดการแสดง “ระบำเยื่อเคยราย็อง”. วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ, 1(1), 35-51.

พระครูคีรีเขตคณารักษ์ (สมปอง ฐิตญาโณ). [2565, 6 เมษายน]. เจ้าอาวาสวัดตาขุน ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอบ้านตาขุน [บทสัมภาษณ์].

พระครูปริยัตยาภิรม (สมบูรณ์ สมฺปุณฺโณ ป.ธ.4) . [2565, 6 เมษายน]. เจ้าอาวาสวัดพัฒนาราม เจ้าคณะจังหวัดสุราษฎรณ์ธานี [บทสัมภาษณ์].

พระครูปริยัติคุณาวุธ (เสรี ภูริปญฺโญ ป.ธ.4) . [2565, 6 เมษายน]. เจ้าอาวาสวัดกลางใหม่ และรองเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี [บทสัมภาษณ์].

พระครูพิศาลพัฒนานุกิจ (สุจินต์ ทีปธมฺโม) . [2565, 6 เมษายน]. รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร วิทยาลัยสงฆ์สุราษฎร์ธานี [บทสัมภาษณ์].

พระครูสุทธิสุวรรณารักษ์ (จรัญ วิสุทฺโธ) . [2565, 6 เมษายน]. เจ้าอาวาสวัดธารทอง อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช [บทสัมภาษณ์].

พระครูสุนทรพจนบัณฑิต (พระมหาสหัส ฐิตสาโร) . [2565, 6 เมษายน]. เจ้าคณะอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช [บทสัมภาษณ์].

พระปลัด พิชิต ธีรภทฺโท. [2565, 6 เมษายน]. เจ้าคณะตำบลเขาวง รักษาการเจ้าอาวาสวัดเขาพัง [บทสัมภาษณ์].

ภัศริดา เหมศรีสวัสดิ์ และคณะ. (2563). การศึกษาภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่น : กรณีศึกษา น้ำพริกกะปิชะคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ที่มีวิถีของอาหารที่เนื่องด้วยกะปิเป็นองค์ประกอบด้วยเช่นกัน. วารสารวัฒนธรรมอาหารไทย, 2(1), 25–32.

ลักษณารีย์ ภัทรทวีสิน. (2562). กิมจิ : คุณค่าทางวัฒนธรรมและมูลค่าทางเศรษฐกิจทศวรรษที่ 1960-ปัจจุบัน (ปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเอเชียศึกษา). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิมลรัตน์ ธรรมชาติ และคณะ. (2564.) การแปรรูปกุ้งเคยเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน กรณีศึกษา: ชุมชนบ้านพังปริง หมู่ที่ 1 ตำบลกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี, 4(2), 54-68.

ศศิอาภา บุญคง และคณะ. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบกะปิกึ่งสำเร็จรูป. วารสารวิทยาชีวิตและสิ่งแวดล้อม. Pibulsongkram Rajabhat University Life Sciences and Environment Journal, 22(2), 148-157.

ศักดิ์ดา อ่างวัฒนกิจ และคณะ. (2563). การศึกษาพฤติกรรรมการซื้อและความต้องการการบริโภคสินค้าประมงอินทรีย์ บนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองที่ยั่งยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 9(1), 95-108.

สิริน ฉกามานนท์ และคณะ. (2565). แนวทางการสืบสานคุณค่าและอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม: น้ำพริกแห่งอุษาคเนย์. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 23(43), 34-45.

เสาวณี จุลิรัชนีกร สุดชีวัน จันทอง. (2557). โอกาสและศักยภาพทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์กะปิผงของกลุ่ม OTOP เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(1), 147-167.

เอกลักษณ์ จารุกิจไพศาล. (2557). การแสดงอัตลักษณ์ของร้านอาหารอีสาน : กรณีศึกษาร้านอาหาร อีสานในเขตกรุงเทพมหานคร (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สื่อสารมวลชน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-23