การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
คำสำคัญ:
การบูรณาการ, หลักพุทธธรรม, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี
ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.11) 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย พบว่า กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และหลักภาวนา 4 ส่งผลต่อทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยสามารถร่วมกันทำนายทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ได้ร้อยละ 70.4 และ 52.0 (Adjust R2=0.704, 0.520) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ประกอบด้วย คุณลักษณะของทรัพยากรมนุษย์ 3 ด้านคือ 1) ด้านความรู้ คือมีความรู้เรื่องของศิลปะร่วมสมัยเป็นอย่างดี 2) ด้านทักษะ คือมีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ การประสานงาน การแก้ปัญหา ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ และภาษาต่างประเทศ 3) ด้านความสามารถ คือมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม การสื่อสารภายในองค์กร การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ โดยบูรณาการเข้ากับหลักภาวนา 4
References
ไกรวิน ไชยวรรณ. (2559). การเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารงานบุคลากรด้านการบินด้วยหลักพุทธธรรมของสถาบันการบินพลเรือน(วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไฉไลฤดี ยุวนะศิริ และคณะ. (2546). ผลสำเร็จในการปฏิบัติธรรมของพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชนะยุทธ เกตุอยู่. (2559). รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธตามแนวทางของพระสังฆพัฒนาในจังหวัดเพชรบูรณ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ฐิติทัศน์ นิพนธ์พิทยา (2562). รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนากองบัญชาการกองทัพไทย (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระณธีร์วิชญ์ คมฺภีรปญฺโญ (วรโภคินธนะโชค). (2560). การพัฒนาสมรรถนะหลักของบุคลากรเทศบาลในยุคโลกาภิวัตน์ตามหลักพุทธธรรม (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้ง 10). กรุงเทพฯ: บริษัทเอส อาร์พริ้นเตอร์แมสโปรดักส์จำกัด.
พระมหาสกล ฐานวุฑฺโฒ (วงษ์เขียด). (2559). รูปแบบการเสริมสร้างภาวะผู้นำกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อพัฒนาชุมชนยั่งยืนภาคเหนือตอนล่าง (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สายรุ้ง บุบผาพันธ์. (2558). การพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลักพุทธธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี. (2564). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2579). สืบค้น 31 ธันวาคม 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/download/plan12.
สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย. (2564). ประวัติสำนักงาน. สืบค้น 20 มกราคม 2564, จาก http://ocac.go.thประวัติสำนักงาน/
อนุวัต กระสังข์. (2558). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรตามแนวพุทธภายใต้กระแสบริโภคนิยม (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Thai Public Administration Wiki, (2564). การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ.
สืบค้น 23 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://thachang-nyk.go.th/UserFilesFile/041158/HUM.pdf.
Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. 3rded, New York: Harper and Row.