นิรโทษกรรมกับอโหสิกรรม : มุมมองทางกฎหมายกับแนวคิดทางพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระปลัดพิพัฒน์พงษ์ ภทฺทวํโส วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร

คำสำคัญ:

พระพุทธศาสนา, นิรโทษกรรม, อโหสิกรรม

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอมุมมองเกี่ยวกับการนิรโทษกรรม ซึ่งเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ใช้เพื่อให้ลืมการกระทำความผิดที่ผ่านมา โดยเฉพาะความผิดทางการเมือง ทำให้ผู้กระทำผิดไม่ต้องถูกดำเนินคดี และหากมีคำพิพากษาแล้ว คำพิพากษาลงโทษนั้นก็จะถูกลบล้าง การนิรโทษกรรมจึงเป็นการลืมว่าได้มีการกระทำผิดเกิดขึ้น แม้รัฐบาลปัจจุบันจะเป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง แต่โดยแท้จริงแล้วเป็นการสืบทอดอำนาจที่มาจากการรัฐประหาร แม้จะมีการประกาศนิรโทษกรรมผ่านรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันไปแล้ว เป็นมาตรการทางกฎหมายที่ใช้เพื่อให้ลืมการกระทำความผิดที่ผ่านมา ดังนั้น การเสริมสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทยให้เสมอภาคและเท่าเทียมกันได้นั้น หากมีการอโหสิกรรม คือ อภัยทานทางกาย วาจา และใจกันก่อนปรับการเมืองให้เป็นสีขาวเท่าเทียมกันแล้ว “การนิรโทษกรรม” จึงจะเป็นกระบวนการเสริมสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์

References

กษิรา เทียนส่องใจ. (2550). การศึกษาวิเคราะห์อภัยทานเพื่อการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยปัจจุบัน.(วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา,รวมกฎหมายนิรโทษกรรม.สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก http://www.lawreform.go.th/

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ.(2561). สถาบันพระปกเกล้า,นิรโทษกรรม, สืบค้น 20 เมษายน 2565, จากhttp://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=นิรโทษกรรม.

ทวีโชค ไข่มุกด์. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย ระหว่างปี พ.ศ.2475-2549.(วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ.พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี.(2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ArdittI, Rita. (1999). Searching for Life: The Grandmothers of the Plaza de Mayo and the Disappeared Children of Argentina.University of California Press.

Bhikkhu Bodhi. (1984). The Noble Eightfold Path. Kandy: Buddhist Publication Society.

Phramaha Khwanchai Kittimethi (Hemprapai). (2017). The Concept of the Amnesty in Theravada Buddhist Philosophy. Journal of MCU Peace Studies. 5(3),387.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-01