การบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยตามแนวพุทธ

ผู้แต่ง

  • อภิรัต ศิรินาวิน นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, พรรคการเมือง, หลักอิทธิบาท 4

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาการบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยตามแนวพุทธ การบริหารจัดการพรรคการเมืองเป็นบทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารพรรค เนื่องจากพรรคการเมืองถือเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมือง ดังนั้นผู้บริหารพรรคจำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการองค์กร โดยเฉาะอย่างยิ่งการบริหารปัจจัยการบริหาร ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ การจัดการ และการบริหารจัดการดังกล่าวหากนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กล่าวคือ หลักอิทธิบาท 4 ได้แก่ ฉันทะ ความพอใจ วิริยะ ความเพียร จิตตะ ความเอาใจใส่ วิมังสา ความไตร่ตรอง เมื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการพรรคการเมืองจะส่งผลให้พรรคการเมืองสามารถบริหารพรรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560. (2560, 7 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 105 ก. หน้า 6.

ภิญโญ สาธร. (2517). หลักการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิชยานนท์ สุทธโส. (2559). เทคนิคการสร้างยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 10(1), 377-387.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2560). อำนาจหน้าที่ของ กกต. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2565, จาก https://shorturl.asia/fwp27

______. (2561). คู่มือการปฏิบัติงานของพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง.

______. (2565). ข้อมูลพรรคการเมืองที่ยังดำเนินการอยู่ ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2565. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2565, จาก https://shorturl.asia/JkfXS

Dayal, R. et al. (1996). Management Principles and Practices. New Delhi: Mittal Publications.

Deming, W. D. (1993). PDCA cycle a quality approach. UK: Cambridge, MA MIT.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-01