หลักพุทธรรมกับภาวะผู้นำในยุค NEW NORMAL
คำสำคัญ:
หลักพุทธธรรม, ภาวะผู้นำ, ยุค New Normalบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประยุกต์หลักพรหมวิหาร 4 ภาวะผู้นำในยุค New normal ที่ต้องมีการปรับตัวในช่วงสถานการณ์ในยุคนี้ ผู้นำในยุค New normal สามารถทาให้ทุกคนในองค์กรเกิดศรัทธา เชื่อมั่นในตัวผู้นำ และสามารถนำพาทุกคนไปในทิศทางเดียวกันได้ ให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ ไปได้ ด้วยพรหมวิหาร 4 ดังนั้น ผู้นำต้องมีคุณลักษณะ 4 ประการประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (เมตตา) ผู้นำต้องมองการไกล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และทันต่อเหตุการณ์ คุณธรรม (กรุณา) ผู้นำต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ยุติธรรม เน้นการพูดคุย หาสาเหตุ ไม่นิ่งเฉย คิดบวก (มุทิตา) ผู้นำต้องมีทัศนคติในแง่บวกเสมอ มีความชัดเจน ห่วงใย ใส่ใจ สวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากร เป็นกลาง (อุเบกขา) ผู้นำต้องมีใจเป็นกลาง กล้าคิด กล้าทำ ทันสถานการณ์ ต้องมีสติอยู่ตลอดเวลา
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). New Normal คืออะไร? เมื่อโควิด-19 ผลักเราสู่ชีวิตปกติวิถีใหม่. สืบค้น 1 สิงหาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/B6eJQ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2547). ธรรมนูญชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 30). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระศรีปริยัติโมลี (สมชัย กุสลจิตฺโต). (2548). ชุดพุทธศาสนาประยุกต์สงฆ์ผู้นำสังคม.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พะยอม วงศ์สารศรี. (2545). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุภา.
พระเมธีวชิโรดม (วุฒิชัย วชิรเมธี). (2551). คนสำราญงานสำเร็จ (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: อมรินทร์ธรรมะ.
ศศิมา สุขสว่าง. (2564). The New Normal กับการปรับตัวสำหรับการเปลี่ยนแปลงในยุค Digital Transformation. สืบค้น 1 สิงหาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/yhdv7
สมยศ นาวีการ. (2544). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บรรณกิจ.
McFarland. (1979). Management: Foundation & Practices (5th ed). New York: Macmillan Publishing Inc.
Schwartz, Z. D. (1980). Introduction to Management: Principle, Practice and Process. New York: Harcourt Brace Jovanovich.
Stogdill, R. M. (1974). Handbook of Leadership: A survey of theory and research. New York: Free Press.