การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลตามหลักพรหมวิหาร

ผู้แต่ง

  • พระครูศรีธรรมวิเทศ (ประเสริฐ ปญฺโญภาโส) วัดปากน้ำชุมพร

คำสำคัญ:

ความสัมพันธ์, ระหว่างบุคคล, พรหมวิหาร

บทคัดย่อ

ความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม เนื่องจากการที่มนุษย์จะอยู่ร่วมกันได้นั้นจะต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในการทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลแน่นแฟ้นขึ้น หลักธรรมที่จะสามารถทำให้มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลยั่งยืนขึ้นและสร้างความสัมพันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น คือ หลักพรหมวิหาร ประกอบด้วย 1) เมตตา มีความรักต่อกัน ไม่ว่าจะเป็นคนรู้จัก เพื่อน หรือ ระดับลึกซึ้ง 2) กรุณา ปรารถนาให้เขาพ้นทุกข์ กล่าวคือ เป็นเพื่อนเป็นเพื่อนตาย 3) มุทิตา พลอยยินดีกับเพื่อนเมื่อได้ดี 4) อุเบกขา ทำใจวางเฉยเมื่อเพื่อนที่เราช่วยแล้วแต่ยังได้รับกรรมชั่วที่เคยทำในอดีต ควรจะนำมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติเพื่อที่จะทำให้ความสัมพันธ์ยั่งยืนขึ้น เพราะหลักพรหมวิหาร มีเนื้อหาครอบคลุม ทั้งทางด้านกาย วาจา และใจ อันนำมาสู่ความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน

References

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2547). ศาสนา ชีวิต และสังคม. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

ชัยพร วิชชาวุธ. (2530). การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมนุษย์. กรุงเทพฯ: สหการพิมพ์.

ประยุทธ์ หลงสมบูรณ์. (2546). พจนานุกรม มคธ-ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ปัลดี อุณหเลขกะ. (2533). ความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ ตามการรับรู้ของพยาบาล ประจําการกับความสามารถในการปฏิบัติงานตามการรับรู้ของตนและหัวหน้าหอผู้ป่วย (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผาสุก ปาประโคน. (2540). ผลการให้คำปรึกษาเป็นกลุ่มแบบมาราธอนโดยใช้ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์ที่มีผลต่อการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

______. (2548). จากสุขในบ้านสู่ความเกษมศานติ์ทั่วสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จันทร์เพ็ญ.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2547). มิลินทปัญหาฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2543). รวมธรรมะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

Beyer, J. E., & Marshall, J. (1981). The interpersonal dimension of collegiality. Nursing Out Look.

Chickering, S. W. (1969). Education and ldentity. Sanfrancisco: Jossey Bass.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-01