Submissions

This journal is not accepting submissions at this time.

Submission Preparation Checklist

As part of the submission process, authors are required to check off their submission's compliance with all of the following items, and submissions may be returned to authors that do not adhere to these guidelines.
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, or RTF document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines.

Author Guidelines

คำแนะนำในการเตรียมบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม 

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คำชี้แจง

วารสารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นเอกสารวิชาการ ออกปีละ 2 ฉบับ (ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม ถึงมิถุนายน ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม ถึงธันวาคม) โดยบทความแต่ละเรื่องจะได้รับการประมินคุณภาพทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 ท่าน โดยใช้วิธีการประเมินแบบ Double-Review  ทั้งนี้บทความที่ส่งเข้ารับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ จักต้องไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาจากที่อื่น หรือได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอื่น หรือเผยแพร่ใน  Proceedings มาก่อน

  1. การรับพิจารณาบทความ

1.1 ประเภทของบทความ

- บทความวิจัย (Research article) ประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ กิตติกรรมประกาศ  (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง

-  บทวิจารณ์หนังสือ (Book review ) ประกอบด้วย ชื่อหนังสือที่ต้องการนำมาวิจารณ์  ชื่อผู้นิพนธ์ สังกัด  และอีเมล และต้องระบุชื่อผู้แต่งหนังสือ รายละเอียดการตีพิมพ์ของหนังสือ ภาพหน้าปกหนังสือ รายละเอียดการวิจารณ์หนังสือหนังสือให้แสดงข้อดี ข้อด้อยของหนังสือ และข้อเสนอแนะ ควรมีจำนวนหน้าอยู่ระหว่าง 3 – 5 หน้า

-  บทความปริทัศน์ (Review article) ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ บทนำ ตัวเนื้อเรื่อง บทวิจารณ์กิตติกรรมประกาศ  (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง

-  บทความรับเชิญ (invited article) ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ ตัวเนื้อเรื่อง บทสรุป และเอกสารอ้างอิง

1.2 สาขาวิชาของบทความ

1) สาขาศิลปกรรม

  • ศิลปะการแสดง
  • ดนตรี
  • ทัศนศิลป์
  • งานช่าง, งานช่างฝีมือพื้นบ้าน
  • งานออกแบบ
  • นฤมิตรศิลป์
  • สาขาวัฒนธรรม
  • ภาษาและวรรณกรรม
  • แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาล
  • ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
  • การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน ศิลปะการต่อสู้และป้องกันตัว
  • วัฒนธรรมในลักษณะอื่น ๆ
  1. รูปแบบการส่งบทความ

2.1 พิมพ์แบบแนวตั้ง (Portrait) ขนาด A4  18.5x25.5 ซม. ใส่หมายเลขทุกหน้าที่ด้านบนขวาของกระดาษ โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page setup) ดังนี้ พิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word 2003  ขึ้นไป  โดยใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK  ทั้งเอกสาร ยกเว้นตัวอักษรที่เป็นสัญลักษณ์ให้ใช้รูปแบบฟอนต์เป็น syrnbol ขนาด point  (pt)  ซึ่งต้องมีความสูงเท่ากับตัวอักษรอื่นในบรรทัดนั้น รายละเอียดข้อกำหนดส่วนต่าง ๆ มีดังนี้

- ด้านบน (top)  และด้านล่าง (bottom)    1  นิ้ว หรือ 2.54  ซม.

- ด้านซ้าย (left)   1.2 นิ้ว

- ด้านขวา (night)                 1 นิ้ว หรือ 2.54 ซม.

- ระยะห่างระหว่างบรรทัด            1.0

- จำนวนหน้าต้นฉบับ 12-15 หน้า (รวมตาราง กราฟ และรูปภาพ)

2.2  เนื้อหาประกอบด้วย

2.2.1  ชื่อเรื่อง (Titie)  พิมพ์ทั้งภาษาไทยและอังกฤษไว้ตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ

2.2.2  ชื่อผู้เขียน (Author)  ต้องระบุชื่อ และนามสกุลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษของผู้เขียนทุกคนโดยไม่ต้องใส่คำนำหน้านามหรือชื่อตำแหน่งหน้าชื่อ สำหรับผู้ที่เป็นผู้เขียนหลักให้ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์ ไว้ท้ายนามสกุล

2.2.3  ที่อยู่ (Address)  ให้ระบุสังกัดและสถานที่ติดต่อโดยละเอียดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เลขที่ 160  ถนนกาญจนวนิช  ตำบลเขารูปช้าง  อำเภอเมืองสงขลา  จังหวัดสงขลา  90000  เป็นต้น  หากมีสังกัดมากกว่า 1  สังกัด ให้ใส่เลข 1,2,3...  กำกับด้านบนนามสกุลของแต่ละท่าน

2.2.4  อีเมลผู้ประสานงานหลัก ( Corresponding author. E-mail)  ให้ระบุอีเมลเฉพาะของผู้ประสานงานหลักเท่านั้น

2.2.5  บทคัดย่อ  (Abstract)  จะต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสกัดสาระสำคัญ จำนวนคำไม่เกิน 300  คำ  

2.2.6  บทนำ (Introduction)  นำเสนอที่มา  ปัญหา แนวคิดหรือความจำเป็น ผลดีหรือผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น หรือประโยชน์จากการดำเนินการชัดเจน

2.2.7  วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objective)  มีความชัดเจน วัดได้ สอดคล้องกับเรื่องที่ดำเนินการ

2.2.8  วิธีดำเนินการวิจัย (Methodology)  ให้อธิบายวิธีดำเนินการทางการวิจัย

2.2.9  ผลการวิจัย (Result)  เสนอผลการวิจัย สอดคล้องกับวิธีดำเนินการวิจัย

2.2.10 อภิปรายผลการวิจัย (Discussion)  การอ้างอิงถึงการค้นพบที่สำคัญของงานวิจัยและอาจเชื่อมโยงผลเพื่อเปรียบเทียบกับผลงานวิจัยอื่น

2.2.11  สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ (Conclusion and Suggestion)  ให้เขียนบรรยายหรือสรุปโดยย่อถึงผลงานที่สำคัญและให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญ

2.2.12  กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี)  (Acknowledgement)  ให้เขียนสั้น และกระชับ

2.2.13  เอกสารอ้างอิง (Reference)  ให้ใช้การเขียนอ้างอิงแบบ APA โดยดูวิธีการเขียนตามหัวข้อที่ 3 และ 4  

หมายเหตุ

-  ชื่อเรื่องกำหนดให้ใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา

-  ชื่อผู้เขียน กำหนดให้ใช้ตัวอักษรขนาด 14 point ตัวหนา

-  สังกัดของผู้เขียน  และอีเมลผู้ประสานงานหลัก กำหนดให้ใช้ตัวอักษรขนาด 14 point ตัวปกติ

-  ส่วนของเนื้อหา กำหนดให้ใช้ตัวอักษรขนาด 16 point   กำหนดระยะห่างบรรทัด (line spacing)  เป็น 1 บรรทัด (single)

  1. การเขียนเอกสารอ้างอิงท้ายเรื่อง

- กำหนดให้ใช้รูปแบบการอ้างอิงแบบ APA Style

- อ้างอิงที่นำมาใช้กรณีงานวิจัยต้องมีอายุไม่เกิน 10 ปี

-  ต้องแปลเอกสารอ้างอิงภาษาไทยอังกฤษทุกรายการ  โดยยังคงเอกสารอ้างอิงภาษาไทยเดิมไว้ด้วย เขียนจัดเรียงคู่กัน โดยให้เอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษที่แปลขึ้นก่อนและตามด้วยเอกสารอ้างอิงภาษาไทย และเดิมคำว่า (in Thai)  ต่อท้ายเอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษที่แปลจากภาษาไทย

- การเรียงลำดับอ้างอิง กรณี เอกสารอ้างอิงที่แปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษให้ยืดตัวอักษรภาษาอังกฤษในการเรียงลำดับ

  1. การอ้างอิงจากหนังสือ

ชื่อผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์)  ชื่อเรื่อง (ครั้งที่พิมพ์) เมืองที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์

ตัวอย่าง

Katsuwan,R. (2008). Policy impiementotion (2nd ed) Bangkok: Bopnit Printig (in Thai)

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ (2551)  การนำนโยบายไปปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2)  กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์ จำกัด

  1. การอ้างอิงวารสาร

ชื่อผู้แต่ง (ปีทีพิมพ์) ชื่อบทความ, ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่) หน้าแรก หน้าสุดท้าย

ตัวอย่าง

Sukjuntra, J. (2014) Situation of Food Safety and Consumer Behavior Toward Salted Fish in Yala  Province. Joumol of Yoio University} 9(1), 85 – 98 , (in Thai)  

จริยา  สุขจันทรา (2557)   สถานการณ์ ความปลอดภัยและพฤติกรรมการบริโภคปลาเค็มในจังหวัดยะลา

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มรย.. 9 (1),85-98

  1. การอ้างอิงเว็บไซต์

ชื่อผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์) ชื่อเรื่อง รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี) (ออนไลน์) ค้นเมื่อ วัน เดือน ปี, จาก:แหล่งสารสนเทศ

ตัวอย่าง

Wikipedia free encyclopedia (2015) Globalizotion (Online) Retrieved  November 14,2010,from

http//th.wikipedia.org/wiki/ Globalizotion. (in Thai)

วิถีพีเดีย  สารานุกรมเสรี. (2558)  โลกาภิวัตน์ (ออนไลน์) ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน  2558, จาก : 

http//th.wikipedia.org/wiki/ Globalizotion. (in Thai)

**หมายเหตุ   อ้างอิงที่มาจากเว็บไซต์ อนุโลมให้อ้างอิงได้ไม่เกิน 20 %  ของการอ้างอิงทั้งหมดของบทความ

  1. การอ้างอิงเอกสารสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการ

ชื่อผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์) ชื่อเรื่องใน ชื่อเอกสารรายงานการประชุม, วัน เดือน ปี ที่จัด เมืองที่พิมพ์ สำนักพิมพ์

ตัวอย่าง

Dalajemg, R., Kongnakon,  W. & Laodee, P (2012) The Usage of Protozoa for Water 

Quality Monitoning in Lumpaya Sub district, Muang District, Yala Province, The 12ndKU-KPS Conference, December 6-7,2012, Bangkok: Kasetsart University. (in Thai)

รอฮานา ตาคาเฮง วัสสา คงนคร และพงศ์ศักดิ์ เหล่าดี. (2555) การใช้โปรโตชัวในกาติดตามตรวจ

สอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ ตำบลลำพะยา  อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ในการประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขต กำแพงแสน ครั้งที่ 9, 6-7 ธันวาคม 2555. กรุงเทพฯ : 

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  1. อ้างอิงวิทยานิพนธ์

ชื่อผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาของวิทยานิพนธ์ ชื่อมหาวิทยาลัย

ตัวอย่าง

ฟิตรีนา  ดาราแม. (2557). ปริมาณของสารชาโปนินในกากเมล็ดชา Comellio oleifero Abel  และการ

ออกฤทธิ์ต่อแมลงวันหัวเขียว Chrysomyo megocepholo (Fobricius)(Diptero: Collipgoridoe)

วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Daramae, F. (2014) Soponin Contents of Tea Seed Cake Camellio oleifara Abel And 

its Biologicol Activity on Bow Fly Chrysomyo megacepholo (Fobricius) (Diptera: Colliphoridoe) Master’s Thesis. Prince of Songkla University  (in Thai)

หมายเหตุ  รายการเอกสารอ้างอิงทั้ง 5 ลักษณะนี้ ถ้ามีผู้เขียนไม่เกิน 6 คน ให้ใส่นามสกุลผู้เขียนครบทุกคนแต่

หากมีมากกว่า 6 คนให้ใส่ชื่อทั้ง 6 คน หลังจากคนที่ 6 ให้ตามด้วย “และคณะ” หรือ “et al” เช่น

Salmon, M, Earman, J., Wilson, R. T., McGarry, D. D., Hpoman, D., Dynaraki, S., et al. (2008)  Longuage: Structure and Use. (2nd ed) Illinois: Scott.

  1. หลักเกณฑ์การอ้างอิงในบทความ

หลักเกณฑ์การอ้างอิงในเนื้อหาให้ใช้ระบบนาม-ปี โดยต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด และระบุเลขหน้าต่อท้าย (Name-Year System, Page) โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้

4.1 นาม หมายถึง  ชื่อผู้นิพนธ์  โดยการเขียนแบบภาษาอังกฤษจะให้ใส่นามสกุลเท่านั้น (Las Name)

4.2 ปี หมายถึง ค.ศ. ที่เอกสารได้รับการตีพิมพ์

4.3 เรื่องที่มีผู้นิพนธ์คนเดียว และในกรณีที่วงเล็บเฉพาะปีให้เขียนดังนี้

Daramae (2016, p 108 ) พบว่า ..........................................................................................

กรณีที่ “ชื่อผู้นิพนธ์-ปี” อยู่ในวงเล็บให้เขียนดังนี้

..............................................................................(Clark. 2010,p.58)

4.4  เรื่องที่มีผู้นิพนธ์ 2 คน ให้เชื่อมด้วย “&” โดยให้เขียนดังนี้

Wiwattana & Rawat (2016, pp 15-16) แสดงให้เห็นว่า......................................................

 

กรณีที่ “ชื่อผู้นิพนธ์ ปี” อยู่ในวงเล็บ ให้เขียนดังนี้

..........................................................(Bose & Rawat, 2012,p.49)

4.5 เรื่องที่มีผู้นิพนธ์ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ให้เขียนนามสกุลเฉพาะคนแรกแล้วตามด้วย et oI., 1984.p. 8)

4.6 ผู้นิพนธ์หลายกลุ่มอ้างอิงในเนื้อหาเดียวกัน ให้คั่นแต่ละกลุ่มด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (:)  เช่น

..............................(Smith et ol.,1984,p. 45 Paterson & Clarde, 1975, pp. 855-856) 

4.7 การอ้างอิงที่ไม่ได้อ้างจากต้นฉบับแต่เป็นการอ้างอิงต่อให้ใช้คำว่า “as cited in” เช่น

Smith (1984 as cited in Harrington, 1989, p 12) กล่าวว่า.............................................

4.8  การอ้างที่มาของตารางและภาพ การเขียนชื่อผู้แต่งให้ใช้หลักการเดียวกับการเขียนอ้างแบบตามท้ายข้อความในเนื้อเรื่องด้วย ตามด้วยวงเล็บปีที่พิมพ์

4.9  บทความที่ไม่ปรากฏเมืองที่พิมพ์/สำนักพิมพ์  หรือไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ให้ใส่  (ม.ปท.) สำหรับเอกสารภาษาไทย และ (n.p.) สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และให้ใส่ (ม.ป.ป.)  สำหรับเอกสารภาษาไทย และ (n.d.) สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ

  1. การใส่ตาราง

ควรมีชื่อตารางกะทัดรับเข้าใจง่ายและมีหมายเลขกำกับโดยเรียงหมายเลขตารางตามลำดับ โดยใส่ชื่อตารางบนหัวตาราง เริ่มที่ตารางที่ 1, ตารางที่ 2, ตารางที่ 3..  ไปจนครบ ในกรณีที่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ให้เขียนชื่อผู้แต่งตามหลักการเดียวกับการเขียนอ้างแบบตามท้ายข้อความในเนื้อเรื่องด้วย ตามด้วยวงเล็บปีที่พิมพ์ เช่น

ตารางที่ 1....................................................................................(Bose et oL,1984,p. 85)

Position

Male

Female

Total

 

Left             Right

Left               Right

No.             (%)

1

0                     0

1                    0

1                0.21 %

2

0                     0

0                    1

1                0.21 %

3

56                   49

138                 133

376            40.09 %

 

  1. การใส่ภาพประกอบ

ภาพประกอบต้องเป็นภาพที่มีความคมชัดของรายละเอียดอย่างน้อยที่สุด 300 ppi (หากเป็นภาพที่เป็นลายเส้นจะต้องมีความละเอียดอย่างน้อยที่สุด 600 pp) ความสูงของภาพต้องไม่น้อยกว่า 6 ชม. และต้องมีชื่อกะทัดรัดเข้าใจง่ายและ มีหมายเลขกำกับโดยใส่ชื่อภาพประกอบไว้ที่ด้านล่างของภาพ และเรียงหมายเลขภาพประกอบ เช่น ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ....ไปจนภาพสุดท้าย การอ้างถึงภาพประกอบในเนื้อหาต้องอ้างหมายเลขกำกับภาพประกอบด้วย การอ้างอิงแหล่งที่มาให้เขียนชื่อผู้แต่งตามหลักการเดียวกับการเขียนอ้างแบบตามท้ายข้อความในเนื้อเรื่องตามด้วยวงเล็บปีที่พิมพ์ เช่น

  1. การส่งบทความต้นฉบับ

กำหนดส่งเอกสารผ่านเว็บไวต์       โดยประกอบไปด้วยเอกสารดังนี้

  • บทความที่พิมพ์ด้วย Microsoft Word 2003 ขึ้นไป                         1   ชุด

-   หนังสือรับรองการส่งบทความตีพิมพ์ (เฉพาะบทความที่มีผู้นิพนธ์ร่วม)           1   ฉบับ

-  กรอกข้อมูลผู้ส่งผ่านทางลิงก์ที่ระบุไว้ในเว็บไซต์

  1. ช่องทางการติดต่อสอบถาม

คุณมานพ  อ่อนแก้ว ผู้ช่วยบรรณาธิการ ฝ่ายจัดการวารสาร

โทรศัพท์/โทรสาร : +6674-336-946

อีเมล :  manop.on@skru.ac.th

Research Article

บทความวิจัย (Research article) ประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ กิตติกรรมประกาศ  (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง

Academic Article

บทความวิชาการ ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อหา สรุป เอกสารอ้างอิง

Book Review

ประกอบด้วย ชื่อหนังสือที่ต้องการนำมาวิจารณ์  ชื่อผู้นิพนธ์ สังกัด  และอีเมล และต้องระบุชื่อผู้แต่งหนังสือ รายละเอียดการตีพิมพ์ของหนังสือ ภาพหน้าปกหนังสือ รายละเอียดการวิจารณ์หนังสือหนังสือให้แสดงข้อดี ข้อด้อยของหนังสือ และข้อเสนอแนะ ควรมีจำนวนหน้าอยู่ระหว่าง 3 – 5 หน้า

Review Article

ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ บทนำ ตัวเนื้อเรื่อง บทวิจารณ์กิตติกรรมประกาศ  (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง

Privacy Statement

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.