การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษและความสุขในการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6; A DEVELOPMENT OF BRAIN – BASED LEARNING ACTIVITIES TO ENHANCE ENGLISH COMMUNICATION ABILITY

Main Article Content

จิรัชญา อุ่นอกพันธ์ (Jiratchaya Unokphan)
พงษ์เอก สุขใส (Phong-ake Suksai)
อังคณา อ่อนธานี (Angkana Onthanee)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อใช้และศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน โดย 2.1) เปรียบเทียบความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น 2.2) เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา มี 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นสร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 6 เรื่อง ให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน จากนั้นนำไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่าวังผาประชารัฐวิทยาคาร เพื่อหาประสิทธิภาพ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานแบบประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เรื่อง Places ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ผู้วิจัยดำเนินการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ จากนั้นนำไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อหาประสิทธิภาพ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน แบบประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เรื่อง Places ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนริม-ป่าคาประชานุเคราะห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงแบบแผนการวิจัย คือ One Group Pretest-Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า
1. กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษและความสุขในการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมสมอง 2) ขั้นเชื่อมโยงความรู้ 3) ขั้นฝึกปฏิบัติ 4) ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ 5) ขั้นสรุปและประเมินผลความรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมินว่ากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานมีความเหมาะสมระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.58, S.D. = 0.38) และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน มีความเหมาะสมระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.56, S.D. = 0.40) และเมื่อนำไปทดลองกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.13 /76.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 75/75
2. ผลการศึกษาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียน ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ได้ผลดังนี้
2.1 ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียน หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2.2 ความสุขในการเรียนของนักเรียน พบว่า หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 3.97, S.D. = 0.49)


A DEVELOPMENT OF BRAIN – BASED LEARNING ACTIVITIES TO ENHANCE ENGLISH COMMUNICATION ABILITY AND HAPPINESS IN LEARNING FOR GRADE 6 STUDENTS


The objectives of this research are 1) to construct and identify the efficiency of Brain – Based Learning Activities using the efficiency criteria of 75/75, 2) to implement Brain – Based Learning; activities by 2.1) comparing the ability in English communication before and after using Brain – Based Learning Activities, and 2.2) to study happiness in learning of students by Brain – Based Learning Activities. There were two steps of research and development as follows.
The first step was to construct and identify the efficiency of Brain – Based Learning Activities. Activities developing and evaluated for their appropriateness by three experts and then activities were used with grade 6 students to find the efficiency. The instruments were learning Brain – Based Learning Activities, evaluation forms related to the suitability of Brain – Based Learning Activities to Enhance English Communication Ability. The second step: implementing Brain – Based Learning Activities. The sample group was 30 students in grade 6 students, first semester, academic year 2016 at Rim - Phakaprachanukroh School. One Group Pretest-Posttest Design was used to find mean, standard deviation, and t-test.
The results were as follows:
1. Brain – Based Learning Activities has 5 steps of processing the learning activities are 1) Preparation, 2) Transferring knowledge, 3) Action, 4) Exchanging knowledge, and 5) Conclusion and Evaluation knowledge. The evaluation by experts showed that these activities were appropriateness at the highest level (gif.latex?\bar{x} = 4.58, S.D. = 0.38), the lesson plan of Brain – Based Learning Activities plans were appropriateness at the high level (gif.latex?\bar{x} = 4.56, S.D. = 0.40). When using the activities, it found that effective at 75.13 /76.00 be in line for 75/75.
2. The results of implementing in Brain – Based Learning Activities, were
2.1 Ability in English Communication of students after using Brain – Based Learning Activities was higher than before learning with the activities at the significant level of .01
2.2 The happiness of students after using Brain – Based Learning Activities, was suitable at high level (gif.latex?\bar{x} = 3.97, S.D. = 0.49)

Article Details

How to Cite
(Jiratchaya Unokphan) จ. อ., (Phong-ake Suksai) พ. ส., & (Angkana Onthanee) อ. อ. (2018). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษและความสุขในการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6; A DEVELOPMENT OF BRAIN – BASED LEARNING ACTIVITIES TO ENHANCE ENGLISH COMMUNICATION ABILITY. Journal of Education and Innovation, 20(3), 35–48. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/140738
Section
Research Articles

References

Boonsue, K. (1997). Happy learning theory. Bangkok: Office of the National Education Commission. Office of the Prime Minister. (in Thai)
Brahmawong, C. (2002). The documentary for teaching education technology subject unit 1-5. Bangkok: Office of Education Technology, Sukhothai Thammathirat University. (in Thai)
Chatkhup, S. (2002). Environment and learning: How to make a smart brain to children. Bangkok: Office of Welfare Promotion Commission for Teachers and Education Personnel. (in Thai)
Cohen, J. (1960). A coefficient of agreement of nominal scale. Educational Psychological Measure, 20, 37-46.
Hoge Pamela. (2003). The integration of brain-based learning and literacy acquisition. New York: W. H. Freeman and Company.
Jankhuang, S. (2011). Improving communicative language skills of Pratomsuksa V students based on cane’s brain – based learning principles (Master thesis). Maha sarakham: Mahasarakham University (in Thai)
Kongnawang, S. (2007). Brain – based learning. Retrieved March 24, 2016 from http://area.obec.go.th/nonthaburi1/sangdoan/bbl_1.doc (in Thai)
Panitpalinchai, T. (2001). Research methodology. Phitsanulok: Faculty of Education, Naresuan University. (in Thai)
Phahe, S. (2010). Education of Thailand and the ASEAN Community: The potential and availability of systems (Doctoral dissertation). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)
Poonsawat, J. (1998). The students learning: A case study of agricultural education student, Kasetsart University (Master thesis). Bangkok: Kasetsart University (in Thai)
Preedeekul, A., Mejang, A., Ngourungsi, K., & Kaewurai, W. (2011). Development of instruction model based on teach less learn more principles to enhance English communicative competence in ASEAN community for higher education students. Journal of Education Naresuan University, 13(special), 155-179. (in Thai)
Saiyot, L., & Saiyot, A. (1996). Technique for educational research. Bangkok: Chomromdek. (in Thai)
Sakuntanak, K. (2009). Effects of a match of learning styles to teaching styles on students’ happiness in learning (Master thesis). Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai)
Sawasdee, S. (2006). Effects of the instructional activity package on English listening – speaking drill based on the principles of brain – based learning for grade 7 students at Srinagarindra the Princess Mother School, Rayong (Master thesis). Chonburi: Burapha University. (in Thai)
Simcharoen, S. (2013). Brain activating. Bangkok: Moh-chao-Ban Publishing House. (in Thai)
Srisa- ard, B. (2002). Preliminary research. Bangkok: Suweeriyasan. (In Thai)
Sutthirat, C. (2010). New learning management. Nonthaburi: Sahamit Printing & Publishing. (in Thai)
Wiriyachitra, A., et al. (2012). Looking back and moving forward of English learning. Bangkok: Window on the World. (in Thai)