การพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1; DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE CURRICULUM ON “CHALAWAN LEGEND” PHICHIT PROVINCE IN THE LEARNING AREA

Main Article Content

พิมพ์พร ธรรมสนธิ (Pimporn Thammasonthi)
มนสิช สิทธิสมบูรณ์ (Monasit Sittisomboon)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านเชิงวิเคราะห์ระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แหล่งข้อมูล ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา อำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านเชิงวิเคราะห์จากการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard) การทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า
1. การสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา ผังมโนทัศน์ หน่วยการเรียนรู้ และเอกสารประกอบหลักสูตรเพิ่มเติม เรื่องตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร มีองค์ประกอบสำคัญ คือ แผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ขั้นสรุป สื่อการสอนและการวัดผลประเมินผล การพิจารณาความเหมาะสมของหลักสูตร สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตรของผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏว่า โดยรวมทั้งหมดมีความเหมาะสมในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.47, S.D = 0.57) และการพิจารณาความเหมาะสมของเอกสารประกอบหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของผู้เชี่ยวชาญ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.41, S.D = 0.59)
2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านเชิงวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียนจากการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนมีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01
3. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.84, S.D = 0.47) ทั้งนี้มีความพึงพอใจในด้านผลผลิตมากกว่าด้านอื่น ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.92, S.D = 0.33) รองลงมา ได้แก่ ด้านกระบวนการในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 488, S.D = 0.40) และด้านปัจจัยนำเข้า ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.73, S.D = 0.61) ตามลำดับ


DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE CURRICULUM ON “CHALAWAN LEGEND” PHICHIT PROVINCE IN THE LEARNING AREA OF THAI LANGUAGE FOR GRADE 7 STUDENTS

This purpose of research were to 1) to create and find quality in the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province in Thai Language Studies for Mattayomsuksa 1 students, 2) to test the curriculum in the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province in Thai Language Studies for Mattayomsuksa 1 students, and 3) To study the satisfaction of the Mattayomsuksa 1 students towards the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province in Thai Language Studies for Mattayomsuksa 1 students which includes 30 term 1 Mattayomsuksa 1 students from the Khao Sai Tab Khlo Pittiya School of the Tab Khlo District in the Phichit Province in the year 2559. Research tools include 1) the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province in Thai Language Studies for Mattayomsuksa 1 students, 2) tests, examinations, and evaluations of the students towards the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province, and 3) Satisfactory surveys of the students towards the additional studies curriculum of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province. The analysis used in this study includes the mean, standard deviation, and the t-test. The results were as follows:
1. In developing the curriculum for the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province for Mattayomsuksa 1 has important components which are; the vision, the mission, the goals, expected desirable learning outcomes, course descriptions and the mapping of the concept unit, documentation and additional materials for the Legend of the Chalawan City curriculum. This includes the academic learning management plan, essential learning times, expected learning outcomes, and learning activities which have 3 parts; introduction, teaching, and conclusion. The teaching evaluations, measurements, and materials for the curriculum for
the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province for Mattayomsuksa 1 are determined as an appropriate course by experts in Phichit. This shows an overall high level of appropriateness
(gif.latex?\bar{x} = 4.47, S.D = 0.57). Also, the appropriateness of the documents and additional materials for the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province for Mattayomsuksa 1 proved to be effective (gif.latex?\bar{x} = 4.41, S.D = 0.59).
2. The results of the reading comprehension comparison of the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province for Mattayomsuksa 1 curriculum for before and after curriculum usage showed us that after the usage of the curriculum there was a greater level of significance of .01.
3. The students were satisfied in learning the curriculum regarding the Legend of the Chalawan City in the Phichit Province for Mattayomsuksa 1 with an overall highest average of (gif.latex?\bar{x} = 4.84, S.D = 0.47). In that, there was a high satisfaction of the end results on the highest level of (gif.latex?\bar{x} = 4.92, S.D = 0.33). Second to that was the satisfaction of methodology on a level of (gif.latex?\bar{x} = 488, S.D = 0.40). Lastly would be the educational inputs at a level of (gif.latex?\bar{x} = 4.73, S.D = 0.61).

Article Details

How to Cite
(Pimporn Thammasonthi) พ. ธ., & (Monasit Sittisomboon) ม. ส. (2018). การพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน จังหวัดพิจิตร สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1; DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE CURRICULUM ON “CHALAWAN LEGEND” PHICHIT PROVINCE IN THE LEARNING AREA. Journal of Education and Innovation, 20(3), 148–161. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/140869
Section
Research Articles

References

Boonyakarnjana, C. (2013). Education innovation psychology of reading (2nd ed.). Bangkok: Tan Auksorn. (in Thai)
Department of Academic. (2008). The documentary for the basic education curriculum B.E. 2551. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand. (in Thai)
Department of Academic. (2002). The content and learning standards of learning the basics and technology on the basic education core curriculum B.E. 2544. Bangkok: Express Transportation Organization of Thailand. (in Thai)
Innthong, S. (2014). The development of local curriculum on “the legendary Thai-Yuan Saraburi Province” group of learning substance in Thai language for Matthayomsuksa 4 (Master thesis). Chonburi: Burapha University. (in Thai)
Khammani, T. (2005). Teaching choice. Bangkok: Dan Suttha Karn Pim. (in Thai)
Keawjunteuk, J. (2007). A training curriculum development for manufacture tribal embroidered cloth (Independent study). Phitsanulok: Nareasuan University. (in Thai)
Khomban, S. (2007). The curriculum development of Thai 40207 subject (Thai Folklores) for senior high school level in Ratchaburi Province (Master thesis). Chonburi: Burapha University. (in Thai)
Meethong, L. (2005). The development of local curriculum on folk wisdom in Nakhon Si Thammarat Province for Prathomsuksa Four Students (Master thesis). Chonburi: Burapha University. (in Thai)
Ministry of Education. (2008). The basic education core curriculum B.E. 2551. Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. (in Thai)
Ministry of Education. (2009). Indicators and learning center learning a language Thai on the basic education core curriculum B.E.2551. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand. (in Thai)
Numpa, J. (2007). A development of the additional curriculum “Thai Ways and Modern Thai Youth”, social studies, religion and culture substance group for Mathayomsuksa 5, Nongkhae “Sorakitpittaya” School, Nongkhae District, Saraburi Province (Master thesis). Lopburi: Thep Sa Tri Rajabhat University. (in Thai)
Phodong, A. (2006). The development of optional subject curriculum, King Nareasuan’s Fighting Cock in the content area of social studies, religion and culture for Patomsuksa v students (Master thesis). Phitsanulok: Nareasuan University. (in Thai)
Reuangsuwan, C. (1991). Technology of Education: Theory and Research. Bangkok: Odian Store. (in Thai)
Sripech, J. (2007). The development of school gased curriculum on Mahasawat canal for sixth grade students. (Master thesis). Bangkok: Silpakorn University. (in Thai)
Susaorat, P. (2013). Development of thinking (5th ed.). Bangkok: 9119 Technique Printing. (in Thai)
Tangkum, K. (2006). The development of supplementary curriculum, jar covered with cloth for commercial product, in the content area of work-oriented occupation and technology for MathayomSuksa 2 (Independent study). Phitsanulok: Nareasuan University. (in Thai)
The Books Press. (2013). National education act B.E. 2542 and amendments (second national education act B.E. 2545 and amendments (third national educational act B.E. 2553. Bangkok: The Books. (in Thai)