สะเต็มศึกษา

Main Article Content

สิรินภา กิจเกื้อกูล

Abstract

บทคัดย่อ

        สะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) ซึ่งเป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นจากการขาดแคลนแรงงานคุณภาพทางวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาจึงเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคน สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน และมีทักษะในการออกแบบและคิดหาวิธีการแก้ปัญหาได้ตามสภาพจริงตามหลักการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การนำองค์ความรู้และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ อาจมิใช่เรื่องใหม่ เพราะกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์มีลักษณะคล้ายกับกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์มาก เพียงแต่วิทยาศาสตร์ต้องการผลลัพธ์เป็นคำอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ ส่วนวิศวกรรมศาสตร์ต้องการผลลัพธ์เป็นชิ้นงานสำหรับใช้แก้ปัญหา

คำสำคัญ: สะเต็มศึกษา/ วิทยาศาสตร์/ วิศวกรรมศาสตร์/ คณิตศาสตร์/ เทคโนโลยี

 

Abstract

        STEM Education is integrated learning management that concerned four subjects including Science, Technology, Engineering and Mathematics. The conceptions of STEM Education are initiated when there is labor shortage of engineers and scientists in the United State.  The STEM Education conceptions thus involve encouraging learners to apply engineering knowledge to construct creative products and promoting them to have authentic solution skills through engineering design process.  Implementation of these conceptions into practices however is not a new conception of learning process in Science. The engineering design process is almost like the science problem solving process. The slightly difference between Science and Engineering is that the science problem solving process needs to have the learners’ scientific explanation of phenomena, but the engineering design process needs to have the learners’ solution product.

Key words:  STEM Education/ Science/ Engineering/ Mathematics/ Technology

Article Details

How to Cite
กิจเกื้อกูล ส. (2015). สะเต็มศึกษา. Journal of Education and Innovation, 17(2), 201–207. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/33370
Section
Academic Articles