การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ THE STUDY OF LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDE TOWARDS SCIENCE FOR 9TH GRADE STUDENTS WITH LEARNING PACKAGE USING THE COOPERATIVE LEARNING STAD TECHNIQUE ON ECOSYSTEM

Main Article Content

วรลักษณ์ เอียดรอด
กิตติมา พันธ์พฤกษา
นพมณี เชื้อวัชรินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จำนวน 36 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การทดสอบที (t-test) และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 ผลการวิจัย พบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เป็น 78.26/77.96 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ที่กำหนดไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ สูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี

Article Details

How to Cite
เอียดรอด ว., พันธ์พฤกษา ก. ., & เชื้อวัชรินทร์ น. . (2020). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ: THE STUDY OF LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDE TOWARDS SCIENCE FOR 9TH GRADE STUDENTS WITH LEARNING PACKAGE USING THE COOPERATIVE LEARNING STAD TECHNIQUE ON ECOSYSTEM. Journal of Education and Innovation, 23(1), 252–263. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/111494
บท
บทความวิจัย

References

Brahmawong, C. (2013). Development testing of media and instructional package. Silapakorn Education Research, 5(1), 7-20. [in Thai]

Chaiyaroen, S. (2014). Design of teaching, principle, theory, practice. Khon Kaen: Anna Offset Printing. [in Thai]

Chatvirakom W. (2011). Supervision and problem solving in teaching science by Ramkhamhaeng University. Retrieved April 18, 2016, from http://e-book.ram.edu/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=SE743 [in Thai]

Khumlangmak, C. (2015). A study on the effect of biology learning package in endocrine system by using cooperative learning technique STAD in grade 11 students (Master thesis). Chonburi: Burapha University. [in Thai]

Kuanhawait, B. (2000). Educational innovation. Bangkok: Charoenvit Printing. [in Thai]

Krumram, S., Srisanyong, S., Singlop, S. (2016). A study effect of CIPPA concept together with STAD technique to develop biological learning achievement on genetic and science process skill for 10th grade student. Journal of Education Naresuan University, 18(2), 202-212. [in Thai]

National Institute of Educational Testing Service. (2015). O-NET Test results. Retrieved May 2, 2015, from www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx [in Thai]

Sinsupanon, S. (2009). Innovative teaching development to improve the quality of youth. Bangkok: 9119 Printing Techniques. [in Thai]

Saiyos, L., & Saiyos, A. (1996). Educational research techniques. Bangkok: Suweeriyasan. [in Thai]

Slavin, R. E. (1995). Cooperative learning. New York: Longman.

Sriwilai, W. (2013). A construction of learning activities packages in plant of science based on subjects inquiry cycle (5E) learning method and STAD for grade 4 students (Master thesis). Chonburi: Burapha University. [in Thai]

Yimchay, W., Chauvatcharin, N., & Sirisawat, C. (2017). The study of learning achievement in biology and analytical thinking skills by using the 7E-learning activities for 10th grade student. Journal of Education Naresuan University, 17(2), 123-134. [in Thai]