พัฒนาการเด็กอายุ 5 – 6 ปี ในโรงเรียนทางเลือกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร DEVELOPMENT OF CHILDREN 5 - 6 YEARS AT ALTERNATIVE SCHOOL IN BANGKOK

Main Article Content

หนึ่งฤทัย เรือนสถิตย์
สาวิตรี ทยานศิลป์
อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง ด้านการใช้กล้ามเนื้อเล็กและการปรับตัว ด้านภาษา และด้านกล้ามเนื้อใหญ่ ของเด็กในโรงเรียนทางเลือก เป็นการศึกษาแบบตัดขวางจากข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งได้มาจากผลสรุปของการทดสอบพัฒนาการเด็ก และจากแบบสำรวจข้อมูลพื้นฐานของเด็ก อายุระหว่าง 5 - 6 ปี ที่ศึกษาในระดับชั้นอนุบาล 3 ของโรงเรียนทางเลือกแห่งหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการเล่น จำนวน 66 คน การวิเคราะห์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย พบว่า เด็กส่วนใหญ่มีพัฒนาการปกติ ร้อยละ 89.4 พบเพียงร้อยละ 3 ที่มีพัฒนาการทางภาษาและกล้ามเนื้อใหญ่ล่าช้า และร้อยละ 4.5 ในด้านกล้ามเนื้อเล็กและการปรับตัว ข้อเสนอแนะสำหรับโรงเรียนที่พบเด็กมีผลการประเมิน พัฒนาการ “ล่าช้า” ควรจะต้องทำการส่งเสริมพัฒนาการให้กับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า อย่างหลากหลายและเหมาะสมกับเด็ก และมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

Article Details

How to Cite
เรือนสถิตย์ ห., ทยานศิลป์ ส. ., & เจี่ยวิวรรธน์กุล อ. . (2021). พัฒนาการเด็กอายุ 5 – 6 ปี ในโรงเรียนทางเลือกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร: DEVELOPMENT OF CHILDREN 5 - 6 YEARS AT ALTERNATIVE SCHOOL IN BANGKOK. Journal of Education and Innovation, 23(1), 347–356. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/115696
บท
บทความวิจัย

References

Keokongvan, S. (2002). Developmental psychology of all ages. Bangkok: Thammasat University Press. [in Thai]

Kotchabhakdi, N., & Lertawasadatrakul, O. (2013). Denver developmental screening test (Denver II) (4th ed.). Nakhon Pathom: Mahidol University. [in Thai]

Mechock, M., & Wattanathorn, A. (2011). Intellectual capital for Thai students development. Journal of Education Naresuan University, 13(2), 139-148. [in Thai]

Ministry of Education. (2017). Basic Education Curriculum B.E. 2017. Bangkok: Academic and Educational Standards Office of the Basic Education Commission Ministry of Education. [in Thai]

Pinlawat, N. (2013). Self-reliance. Retrieved January 4, 2017, from http://taamkru.com/th/Self-reliance [in Thai]

Padan, R. (2014). Fine motor ability of early childhood children enhancing patching and tearing creative art activity. Journal of Education Research Faculty of Education, Srinakarinwirot University, 9(1), 101-108. [in Thai]

Punyaswat, P. (2001). When child write. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Ratnan, Y. (2014). A study of factors affecting early childhood development in Thai Health Region 8. Retrieved January 4, 2017, from http://kcenter.anamai.moph.go.th/download.php?info_id=2155&download_file=pdf/dcc759cb9a09c753df24f24460689ed9.pdf [in Thai]

Thongkui, K., Sittisomboon, M., Kaewurai, W., & Pachanban, P. (2014). Development of an experiential model to enhance honesty for preschool children. Journal of Education Naresuan University, 16(4), 1-21. [in Thai]

Tikulsurakan, P. (2006). Believe me; I am smarter than I thought. Bangkok: Principal Printing Public Company. [in Thai]

Tontipalacheewa, K. (2008). Learning activities for early childhood. Bangkok: Brain Based Book. [in Thai]

Wangwinyoo, W. (2008). Natural childhood. Bangkok: Plan Printing. [in Thai]

Watcharasuntarakit, K. (2009). A study of the developmental and developmental situation of children aged 0-5 Year in the district 17. Nonthaburi: Department of Health. [in Thai]

Worakitpokathorn, S., et al. (2010). Participatory model for competency integrated development in early childhood development center. Nakhon Pathom: Mahidol University. [in Thai]