การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้รายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร โดยวิธีการทำปฏิบัติการกับวิธีการเรียนรู้ผ่านโครงงาน การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้รายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร โดยวิธีการทำปฏิบัติการกับวิธีการเรียนรู้ผ่านโครงงาน

Main Article Content

ปารมี หนูนิ่ม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้รายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหารโดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนผ่านการทำปฏิบัติการ กับวิธีการเรียนรู้ผ่านโครงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหา แบบประเมินทักษะในการแสวงหาความรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า
1. นักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านโครงงานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร สูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านการทำปฏิบัติการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2. นักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านโครงงานมีทักษะการคิดแก้ปัญหา สูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านการทำปฏิบัติการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3. นักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านโครงงานมีทักษะในการแสวงหาความรู้ สูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ผ่านการทำปฏิบัติการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

How to Cite
หนูนิ่ม ป. . (2020). การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้รายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร โดยวิธีการทำปฏิบัติการกับวิธีการเรียนรู้ผ่านโครงงาน: การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้รายวิชาการประเมินและควบคุมคุณภาพอาหาร โดยวิธีการทำปฏิบัติการกับวิธีการเรียนรู้ผ่านโครงงาน. Journal of Education and Innovation, 22(3), 124–134. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/125913
บท
บทความวิจัย

References

Banchonhattakit, P. (2012). Development of research-based learning in health education and health promotion. KKU Journal for Public Health Research, 6(1), 97-105. [in Thai]

Brogan, D. R., & Kutner, M. H. (2012). Comparative analyses of pretest-posttest research designs. The American Statistician, 34(4), 229-232.

Chaiyakit, M. (2014). Guidelines of integrated instruction with research and academic services for the community in higher education. Journal of Education Naresuan University, 16(2), 205-213. [in Thai]

Chumsukon, M. & Pitak, N. (2016). Learning process arrangement based on research-based learning for the education for environmental development subject. Journal of Education Khon Kaen University, 39(4), 41-52. [in Thai]

Hassan, S. (2013). Applying research-based learning in medical education through the route of special study modules: Notes from the UK. SA-eDUC Journal, 10(1), 1-26.

Insa-ard, S. (2012). Project-based learning in games and simulations in education subject for bachelor degree student. Retrieved May 26, 2018, from http://www3.ru.ac.th/km-research/index.php/km/viewIndex/33 [in Thai]

Ministry of Education. (2003). National Education Act B.E. 2542. Bangkok: Organization of Transfer Products and Packaging Press. [in Thai]

Pho-ngern, W., Prathumsuwan, P., & Hutaman, S. (2014). Project-based learning. Retrieved May 26, 2018, from http://www.fte.kmutnb.ac.th/km/project-based%20learning. pdf [in Thai]

Trilling, B. & Fadel, C. (2009). 21st century skills: Learning for life in our times. California: John Wiley & Sons.

Viphatphumiprathes, T. (2014). Effects of research-based learning on undergraduate students’ knowledge of ASEAN culture. Journal of Education Naresuan University, 16(1), 54-62. [in Thai]

Wongkitrungreung, W., & Jittareug, A. (2011). 21st century skills: Rethinking how students learn. Bangkok: Open Worlds Press. [in Thai]