การพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE CURRICULUM ON BAAN HINTANG LOCAL KNOWLEDGE IN THE LEARNING AREA OF THAI LANGUAGE FOR PRIMARY STUDENTS

Main Article Content

ศศิพงษ์ ศรีสวัสดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การอ่านจับใจความระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีต่อการเรียนหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา กลุ่มทดลองได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหินตั้ง จังหวัดอุดรธานี จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เอกสารประกอบหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านจับใจความจากการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา วิเคราะห์ข็อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard) การทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า
1. หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา มีองค์ประกอบที่สําคัญ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ คําอธิบายรายวิชา ผังมโนทัศน์ หน่วยการเรียนรู้ และเอกสารประกอบหลักสูตรเพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง มีองค์ประกอบสําคัญ คือ แผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ สาระสําคัญ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สื่อการสอนและการวัดผลประเมินผล กิจกรรมการเรียนรู้ มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ขั้นสรุป โดยรวมหลักสูตรมีคุณภาพในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.24, S.D. = 0.05) และแผนการจัดการเรียนรู้ โดยรวมมีคุณภาพในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.43, S.D. = 0.04)
2. ผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านจับใจความโดยการใช้หลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยก่อนเรียนมีค่า (gif.latex?\bar{x} = 30.56, S.D. = 1.16) หลังเรียนมีค่า (gif.latex?\bar{x} = 50.8, S.D. = 1.18)
3. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ต่อหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง โดยรวมอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.26, S.D. = 0.02)

Article Details

How to Cite
ศรีสวัสดิ์ ศ. . (2019). การพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านหินตั้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา: DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE CURRICULUM ON BAAN HINTANG LOCAL KNOWLEDGE IN THE LEARNING AREA OF THAI LANGUAGE FOR PRIMARY STUDENTS. Journal of Education and Innovation, 23(1), 321–333. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/147291
บท
บทความวิจัย

References

Baan Hintang School. (2017). Student achievement assessment report Baan Hinting School, Udon Thani year 2017. Udon Thani: Ban Hintang School. [in Thai]

Bamroongsri, G. (2005). The effects of using aesop's fables on the development of understanding of listening and questioning of Prathomsuksa 1 students at Wat Municipality, Wat Phra Jariya Nakhon Sawan Province (Master thesis). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai]

Chawshoti, C. (2008). Development of local curriculum professional learning and technology for banana fibers Mattayom 3 (Independent study). Phitsanulok: Naresuan University. [in Thai]

Khuhapinant, C. (1999). Reading and reading promote. Bangkok: Silapabannakarn. [in Thai]

Ministry of Education. (2010). National Education Act B.E. 2542 (1999) and Amendments (Second National Education Act B.E. 2545 (2002). Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. [in Thai]

Ministry of Education. (2008). Core Curriculum for Basic Education A.D. 2008. Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand. [in Thai]

Muannin, W. (1998). Reading comprehension (2nd ed.). Bangkok: Suviriyasarn. [in Thai]

Office of the National Education Commission. (1998). The promotion of Thai wisdom in organizing education. Bangkok: Pimdee. [in Thai]

Masmeatathip, T., & Thamrongsotthisakul, W. (2018). The development of process-based curriculum enhancing learning folk wisdom against flooding: A case of Bangrakum District, Phitsanulok. Journal of Education Naresuan University, 20(4), 82 – 94. [in Thai]

Srisa-ard, B. (2004). Statistical methods for research. Bangkok: Suviriyasarn. [in Thai]

Suriyarunsan, R. (2012). Development of reading comprehension exercises for Mathayomsuksa 1 students using local information in Phetchaburi Province (Master thesis). Bangkok: Silpakorn University. [in Thai]

Thammasonthi, P., & Sittisomboon, M. (2018). Development of additional course curriculum on “Chalawan Legend” Phichit Province in the learning area of Thai language for grade 7 students. Journal of Education Naresuan University, 20(3), 148 – 161. [in Thai]