การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมบังคับหุ่นยนต์ ด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีม THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL FOR ROBOTICS CONTROL PROGRAMMING USING TEAM-GAMES-TOURNAMENT

Main Article Content

วิวัฒน์ มีสุวรรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมบังคับหุ่นยนต์ ด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีม 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีม ผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน โดยผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ และนำไปทดลองกับกลุ่มที่ศึกษา ซึ่งเป็นนิสิตปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 22 คน สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมบังคับหุ่นยนต์ ด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีม มีขั้นตอนหลัก 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นการสอน ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียมการแข่งขัน ขั้นการแข่งขันและขั้นการสรุปและประเมินผล 2) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมบังคับหุ่นยนต์ ด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีมในระดับมาก

Article Details

How to Cite
มีสุวรรณ์ ว. . (2019). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมบังคับหุ่นยนต์ ด้วยเทคนิคเกมการแข่งขันเป็นทีม: THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL FOR ROBOTICS CONTROL PROGRAMMING USING TEAM-GAMES-TOURNAMENT. Journal of Education and Innovation, 23(1), 297–307. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/178829
บท
บทความวิจัย

References

Jaitiang, A. (2010). Principles of teaching (5th ed.). Bangkok: OS Printing House. [in Thai]

Joyrung, N., Chauvatcharin, N., & Sirisawad, C. (2018). A study of biology achievement and group process skills of a special scientific course 10th grade students by using cooperative learning TGT technique. Journal of Education Naresuan University, 20(2), 75-88. [in Thai]

Khammani, T. (2014). Teaching science: Knowledge for effective learning management (18th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Lowriendee, W. (2004). Learning management techniques for professional teachers. Nakhon Pathom: Silpakorn University. [in Thai]

Lueksompoth, P. (2007). A comparison of learning achievement in mathematics, attitudes towards learning mathematics, and interaction among students between the use of cooperative learning (teams-games-tournaments) and conventional approach for mathayomsuksa 1 students (Master thesis). Phra Nakhon Si Ayutthaya: Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. [in Thai]

Nakasan, N., & Nakasan, C. (2016). Game: Innovation for creative education. Romphruek Journal Krirk University, 34(3), 159-182. [in Thai]

Natakuatoong, O. (2000). Instructional technology unit 1-8. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai]

Sansuwan, W. (2008). Development of web-based cooperative learning using teams-games-tournament technique for science curriculum of mattayomsuksa II. Bangkok: King Mongkut's University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Sintapanon, S., Sukying, F., Veerakiatsunthorn, J., & Naparat, P. (2011). Teaching methods according to educational reform to improve the quality of youth. Bangkok: 9119 Printing Techniques. [in Thai]

Suwantada, N. (2016). The effect of mathematic learning activities with a teams-games-tournaments (TGT) technique: A case study of pre-calculus project 2015. Panyapiwat Journal, 8(2), 144-152. [in Thai]

Thai Youth Encyclopedia. (1993). Robot. Retrieved from http://kanchanapisek.or.th [in Thai]

Wangdeeson, A., Prasantree, T., & Anantarak, M. (2014). A comparison of learning achievements of mathayomsuksa 5 students in learning the science substance group entitled ‘calculating a substance quantity in a chemical reaction’ through instructional using TGT learning technique versus STAD learning technique. Nakhon Phanom University Journal, 4(2), 80-87. [in Thai]