การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE CREATIVE PROBLEM SOLVING FOR STUDENT TEACHERS AT RAJABHAT UNIVERSITY

Main Article Content

ปณิสรา จันทร์ปาละ
มนสิช สิทธิสมบูรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบ 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพรูปแบบ 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก การวิจัยดำเนินไปตามกระบวนการวิจัยและพัฒนาแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิด แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพรูปแบบและเอกสารประกอบรูปแบบการเรียนการสอน โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน และทดลองนำร่องกับนักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1 กลุ่ม ขั้นตอนที่ 3 เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักศึกษาครู ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกับนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก ขั้นตอนที่ 4 ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนตามรูปแบบ

Article Details

How to Cite
จันทร์ปาละ ป. ., & สิทธิสมบูรณ์ ม. . (2019). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ: THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE CREATIVE PROBLEM SOLVING FOR STUDENT TEACHERS AT RAJABHAT UNIVERSITY. Journal of Education and Innovation, 23(1), 204–213. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/190682
บท
บทความวิจัย

References

Chareonwongsak, K. (2003). Future images and characteristics of desirable Thai people. Bangkok: Office of the National Education Commission. [in Thai]

D’Zurilla, T. J., & Goldfriend, M. R. (1971). Problem-solving and behavior modification. Journal of Abnormal Psychology, 78, 107-126.

Jonassen, D. H. (1992). Evaluating constructivist learning. In T. M. Duffy (Ed.), Constructivism and the technology of instruction (pp. 137-147). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates Publishers.

Joyce, B., & Weil, M. (1996). Models of teaching (5th ed.). Boston: Allyn and Bacon.

Joyce, B., & Weil, M. (2000). Models of teaching (6th ed.) Boston: Allyn and Bacon.

Kemp, J. E., Morrison, G. R., & Ross, S. M. (1997). Designing effective instruction. New York: Mcmillan College.

Khammani, T. (2012). Instruction science: Knowledge for efficiency learning process (16th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

Mitchell, W. E., & Kowalik, T. F. (1999). Creative problem solving (3rd ed.). NUCEA: Genigraphict.

Moonkham, S. (2004). Teaching strategies to solve problems. Bangkok: Photo Print Partnership. [in Thai]

Naowanondha, A. (2004). Academic leadership teaching documents. Nakhon Ratchasima: Faculty of Education, Nakhon Ratchasima Rajabhat University. [in Thai]

Onthanee, A. (2009). The development of on instructional model to enhance learning facilitator’s competence based on knowledge management approach for student teachers. Journal of Education Naresuan University, 11(special edition), 35-52. [in Thai]

Parnskul, S. (2002). A proposed learning model for creative problem solving process usingiinternet-based cooperative learning within the organization (Master thesis). Nakhon Pathom: Silpakorn University. [in Thai]

Praseeratesung, R. (2015). The development of learning model based on constructivism by creative problem solving for high school students (Doctoral dissertation). Maha Sarakham: Mahasarakham University. [in Thai]

Sayler, J. G., William, M. A., & Arthur, J. L. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning (4th ed.). New York: Holt, Rinecart and Winson.

Seethong, P., Kaewurai, W., Wattanathorn, A., & Onthanee, A. (2016). The development of an instructional model based on collaborative learning with scaffolding to enhance Thai communicative writing ability for prathomsuksa IV students. Journal of Education Naresuan University, 18(4), 69-85. [in Thai]

Sirichaisin, K., & Wattanatorn, A. (2018). The development of curriculum enhancing creative problem solving thinking with mastery learning for student teachers at Rajabhat University. Journal of Education Naresuan University, 20(3), 1-12. [in Thai]