Preliminary Survey of Academic Researches on ‘Isan MPs’, 1987-2007
Main Article Content
Abstract
This article is a survey of researches written on the so-called ‘Isan MPs’ between 1987 and 2007. It aims at exploring and compiling academic researches regarding the Isan MPs in that period, in order to identify aspects that have already been studied and, in contrast, those aspects that have yet been researched. It also examines the content, research methodology and key points in those researches. This survey is particularly useful for any future researcher seeking to establish topics or key points within this subject. The emphasis of this article is on academic researches and theses in the areas of history and political science written during 1987 and 2007.
The findings reveal that most academic researches and theses on the Isan MPs completed during this twenty year period emphasise only on a group of Isan MPs belonging to Thong-in Phuritat. However, from 1997 onwards, other groups of Isan MPs have attracted greater attention from researchers. There is no clear evidence of any specific conceptual framework, methodology and theory used in the researches under discussion. Rather, these researches largely provide a descriptive account that reflects and analyses historical sources used in the studies.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลที่ตีพิมพ์ลงในวารสารมนุษย์กับสังคม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารมนุษย์กับสังคม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อต้องอ้างอิงวาสาร
References
เฉลิมเกียรติ ภาระเวช. (2545). ขบวนการเสรีไทยสายอีสาน: ข้อสังเกตเบื้องต้น. ใน โครงการตำราคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ รองศาสตราจารย์ อุดม พิริยะสิงห์ พิริยนุสรณ์ บทสำรวจองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ ในปริญญานิพนธ์หลักสูตรไทยคดีศึกษา. มหาสารคาม: โครงการตำราคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เฉลิมเกียรติ ภาระเวช. (2542). บทบาททางการเมืองของผู้นำท้องถิ่นอีสาน พ.ศ. 2481-2495. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาญชัย บุญเสนอ. (2536). การรวมกลุ่มของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไชยวุฒิ มนตรีรักษ์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดเลย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2546). การเมืองสองฝั่งโขง. กรุงเทพฯ: มติชน.
ธีรวัชร ประนัดสุดจ่า. (2542). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายจำลอง ดาวเรืองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคามในช่วงปี พ.ศ. 2480-2492. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิรันดร์ กุลฑานันท์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ประสพ วงศ์หนองหว้า. (2537). บทบาทของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด กับการพัฒนาสู่ตระกูลการเมือง พ.ศ. 2480-2529. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
พรรณิกา ฉายากุล. (2547). ส.ส. อีสานกลุ่มแนวคิดสังคมนิยม พ.ศ. 2490-2506. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พิชญ์ สมพอง. (2551). นักการเมืองถิ่นจังหวัดยโสธร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
พีรยา คูวัฒนศิริ. (2533). แนวคิดและบทบาททางการเมืองของทองอินทร์ ภูริพัฒน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ระวี ประสงค์ศิลป์. (2536). พัฒนาการของขบวนการต่อสู้ทางการเมืองในจังหวัดอุดรธานี: ศึกษาการเลือกตั้งทั่วไปสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 12 - 15 (พ.ศ.2522 - 2531). วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศิริพร ศรีพนมเขต. (2544). การรวมกลุ่มทางการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ. 2500 – 2538. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมชัย ภัทรธนานันท์. (2548). “อีสานกับรัฐไทย: การครอบงำความขัดแย้ง และการต่อต้าน” มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 24(2), 99-122.
สหชาติ ทันที. (2550). ความคิดทางการเมืองของนายไขแสง สุกใส. ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุวัฒน์ชัย แสนราช. (2541). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายถวิล อุดล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ.2480-2492. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุเชาวน์ มีหนองหว้า และกิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
สำรวน ศิริบุรี. (2537). แนวคิดทางการเมืองและบทบาทของนายแคล้ว นรปติ ในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
อดิเรก บุญคง. (2536). บทบาทของขบวนการเสรีไทยสายอีสานและบทบาททางการเมืองของสมาชิกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ.2484-2495. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อภิสิทธิ์ กิจเจริญสิน. (2542). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายเตียง ศิริขันธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสกลนครในช่วงปี พ.ศ. 2480-2495. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.