ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยี ความจริง เสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านและทัศนคติที่มีต่อกีฬา พื้นบ้านภาคตะวันออกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่่อศึกษาความพึงพอใจขอนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภููมิปัญญากีฬาพื้นบ้าน 2) เพื่อศึกษาทัศนคติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่มีต่อกีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออกภายหลังจากที่ได้รับสื่อเทคโนโลยี
ความจริงเสริมภูมิ ปัญญากีฬาพื้นบ้าน และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านกับทัศนคติที่มีต่อกีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3 จังหวัด
จังหวัดละ 90 คน รวม 270 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น โดยการจับสลากเลือกอำเภอและจับสลากโรงเรียนในแต่ละอำเภอที่จับสลากได้จากนั้นดำเนินการประกาศรับอาสาสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง “ภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออก” และแบบสอบถามความพึงพอใจและทัศนคติที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออก โดยมีค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถามอยู่ระหว่าง 0.7-1.0และค่าความเชื่อถือได้เท่ากับ 0.96 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̄) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาความสัมพันธ์ด้วยการสถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation) กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านอยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55+0.43 ทัศนคติที่มีต่อกีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออกอยู่่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57+0.48และพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านกับทัศนคติที่มีต่อกีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออกอยู่ในระดับสูงมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.734 จากข้อมูลสามารถสรุปได้ว่าสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้ไปยังนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เกิดความพึงพอใจได้ นอกจากนั้น ยังพบว่าความพึงพอใจมีความสัม พันธ์กับมีทัศนคติที่มีต่อกีฬาพื้นบ้านภาคตะวันออกในระดับมากอีกด้วย
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลที่ตีพิมพ์ลงในวารสารมนุษย์กับสังคม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารมนุษย์กับสังคม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมนุษย์กับสังคมก่อน
References
กรมพลศึกษา. (2555). แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาพื้นเมืองไทยในการพัฒนา พื้นฐานนักกีฬาไทย. กลุ่มวิจัยและพัฒนา สำนักกการกีฬา กรมพลศึกษา.
กรมพลศึกษา. (2557). การละเล่นพื้นบ้านไทย. โรงพิมพ์เอส: ออฟเซ็ทกราฟฟิคดีไซน์.
ชัชชัย โกมารทัต. (2549). กีฬา พื้นเมืองไทย ภาคกลาง: ศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นมาวิธีเล่น และคุณค่า. สถาพรบุ๊คส์.
ชูศรี วงษ์รัตนะ. (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 10). ไทยเนรมิตกิจ.
ฐิตยาพร สุระพล. (2559). แนวทางการพัฒนาการละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยของ สถาบันการพลศึกษา. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปะศาสตร์สถาบันการพลศึกษา].
ธนิดา จุลวนิชย์พงษ์, วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์, สมพร ส่งตระกูล, วิรัตน์ สนธิ์จันทร์, สราลี สนธิ์จันทร์ และพวงทอง อินใจ. (2564). หนังสืออัจฉริยะ ภูมิปัญญากีฬาพื้นบ้านเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. ชลบุรีการพิมพ์.
พนม คลี่ฉายา. (2556). ความต้องการข่าวสาร การใช้สื่อ และนิสัยการเปิดรับสื่อของผู้สูงอายุไทย. วารสารนิเทศศาสตร์, 31(2), 1-26.
วัชรพล อุนจะนำ และภาสกร เรืองรอง. (2565). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่องการผูกเงื่อนสำหรับลูกเสือสามัญ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(2), 222-231.
อรวี ขุมมิน, นฤมล ศิระวงษ์ และนิพาดา ไตรรัตน์. (2565). เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเพื่อพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของผู้เรียนในโลกชีวิตวิถีใหม่. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 21(1), C9-C15.
Akçayır, M., & Akçayır, G. (2017). Advantages and challenges associated with augmented reality for education: A systematic review of the literature. Educational research review, 20, 1-11.
Aukstakalnis, S. (2016). Practical augmented reality: A guide to the technologies, applications, and human factors for AR and VR.
Addison-Wesley Professional.
Azuma, R. T. (1997). A survey of augmented reality. Presence: teleoperators & virtual environments, 6(4), 355-385.
Azuma, R., Baillot, Y., Behringer, R., Feiner, S., Julier, S., & MacIntyre, B. (2001). Recent advances in augmented reality. IEEE Computer Graphics and applications, 21(6), 34-47.
Bressler, D. M., & Bodzin, A. M. (2013). A mixed methods assessment of students’ flow experiences during a mobile augmented reality science game. Journal of computer assisted learning, 29(6), 505-517.
Çetin, H., & Türkan, A. (2022). The Effect of Augmented Reality based applications on achievement and attitude towards science course in distance education process. Education and Information Technologies, 27(2), 1397-1415.
Ciloglu, T., & Ustun, A. B. (2023). The Effects of Mobile AR-based Biology Learning Experience on Students’ Motivation, Self-Efficacy, and Attitudes in Online Learning. Journal of Science Education and Technology, 32(3), 309-337.
Chang, Y. L., Hou, H. T., Pan, C. Y., Sung, Y. T., & Chang, K. E. (2015). Apply an augmented reality in a mobile guidance to increase sense of place for heritage places. Journal of Educational Technology & Society, 18(2), 166-178.
Chiang, T. H., Yang, S. J., & Hwang, G. J. (2014). An augmented reality-based mobile learning system to improve students’ learning achievements and motivations in natural science inquiry activities. Journal of Educational Technology & Society, 17(4), 352-365.
Ferrer-Torregrosa, J., Torralba, J., Jimenez, M. A., García, S., & Barcia, J. M. (2015). ARBOOK: Development and assessment of a tool based on augmented reality for anatomy. Journal of Science Education and Technology, 24(1), 119-124.
Hsiao, K. F., Chen, N. S., & Huang, S. Y. (2012). Learning while exercising for science education in augmented reality among adolescents. Interactive learning environments, 20(4), 331-349.
Ibáñez, M. B., Di Serio, Á., Villarán, D., & Kloos, C. D. (2014). Experimenting with electromagnetism using augmented reality: Impact on flow student experience and educational effectiveness. Computers & Education, 71, 1-13.
Indah, J., Lv, M., & Ali, W. (2019). Research and application of folk sports heritage based on big data. Malaysian Sports Journal, 1(1), 8-10.
Johnson, L., Levine, A., Smith, R., & Stone, S. (2010). The 2010 Horizon Report. New Media Consortium. http: //files .eric .ed.gov /fulltext/ED510220.pdf
Kirriemuir, J., & McFarlane, A. (2004). Literature review in games and learning. http://hal.archives ouvertes.fr/docs /00/19/04/ 53/ PDF/kirriemuir-j-2004-r8.pdf
Liu, D. Y. (2016). Combined with augmented reality navigation applications in the library. In 2016 International Conference on Advanced Materials for Science and Engineering (ICAMSE) (pp. 441-443). https://doi.org/10.1109/ICAMSE.2016.7840320
Liu, Q., Ma, J., Yu, S., Wang, Q., & Xu, S. (2023). Effects of an Augmented Reality-Based Chemistry Experiential Application on Student Knowledge Gains, Learning Motivation, and Technology Perception. Journal of Science Education and Technology, 32(2), 153-167.
Lu, S. J., & Liu, Y. C. (2015). Integrating augmented reality technology to enhance children’s learning in marine education. Environmental Education Research, 21(4), 525-541.
Mohd Yusof, A., Daniel, E. G. S., Low, W. Y., & Ab. Aziz, K. (2014). Teachers’ perception of mobile edutainment for special needs learners: the Malaysian case. International Journal of Inclusive Education, 18(12),1237-1246.
Pellas, N., Fotaris, P., Kazanidis, I., & Wells, D. (2019). Augmenting the learningexperience in primary and secondary school education: A systematic review of recent trends in augmented reality game-based learning.
Virtual Reality, 23(4), 329-346.
Ustun, A. B., Simsek, E., Karaoglan-Yilmaz, F. G., & Yilmaz, R. (2022). The effects of AR-enhanced English Language Learning Experience on Students’ Attitudes, Self-Efficacy and Motivation. TechTrends, 66(5), 798-809.
Wang, J., Gu, S., Wen, Z., Gan, Y., & Yang, J. (2018). Study on the Main Problems of the Development of Folk Sports and Its Countermeasures. In 3rd International Conference on Contemporary Education, Social Sciences and Humanities (ICCESSH 2018), (pp. 1284-1287). Atlantis Press.
Wu, H. K., Lee, S. W. Y., Chang, H. Y., & Liang, J. C. (2013). Current status, opportunities and challenges of augmented reality in education. Computers & education, 62, 41-49. http://hal.archives-ouvertes.fr/docs/00/19/04/53/PDF/ kirriemuir-j-2004-r8.pdf
Yuen, S. C. Y., Yaoyuneyong, G., & Johnson, E. (2011). Augmented reality: An overview and five directions for AR in education. Journal of Educational Technology Development and Exchange, 4(1), 11.
Zarraonandia, T., Aedo, I., Díaz, P., & Montero, A. (2013). An augmented lecture feedback system to support learner and teacher communication. British Journal of Educational Technology, 44(4), 616-628.