สงครามคราวเสียกรุง พ.ศ. 2112 ในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ลาว และพม่า

Main Article Content

กำพล จำปาพันธ์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าประเด็นเกี่ยวกับสงครามคราวเสียกรุง พ.ศ. 2112 โดยใช้เอกสารประวัติศาสตร์ของไทย ลาว พม่า ในส่วนที่กล่าวถึงเหตุการณ์ เรื่องราว บทบาทตัวละครที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่อยุธยามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับหงสาวดีและเวียงจันทน์ เอกสารของลาวและพม่า ต่างยกย่องวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ของตนเอง ซึ่งเป็นวีรบุรุษของชาติทั้งสองในเวลาต่อมาแต่เอกสารไทยมีทั้งยกย่องและไม่ยกย่อง ด้วยเงื่อนไขปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับผู้แต่งพระราชพงศาวดารแตกต่างกัน ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการอธิบายที่ใช้เหตุการณ์สงคราม พ.ศ. 2310 ไปเป็นมาตรฐานมุมมองต่อสงคราม พ.ศ. 2112 การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ของไทย และจำแนกลำดับเหตุการณ์ให้นิยามเรียกสงคราม พ.ศ. 2112 ในฐานะสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และนิยามสงคราม พ.ศ. 2310 ในฐานะสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2

Article Details

How to Cite
จำปาพันธ์ . ก. (2024). สงครามคราวเสียกรุง พ.ศ. 2112 ในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ลาว และพม่า. วารสารมนุษย์กับสังคม, 2(2), 122–142. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/husocjournal/article/view/272367
บท
บทความวิชาการ

References

กำพล จำปาพันธ์. (2552). ภาพลักษณ์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชในประวัติศาสตร์ไทย-ลาว. ศิลปวัฒนธรรม, 30(12), 74-97.

__________. (2558). คชายุทธ์-พุทธชาติ์: ยุทธหัตถีและสงครามบนหลังช้าง/พุทธศาสนากับความเป็นชาติในประวัติศาสตร์ศรีลังกา อุษาคเนย์ และสยาม. พิษณุโลก: สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จันทนุมาศ, พัน. (2553). พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). นนทบุรี: ศรีปัญญา.

คำ จำปาแก้วมณี, มหา และคณะ. (2539). ประวัติศาสตร์ลาว. (สุวิทย์ ธีรศาศวัต, ผู้แปล). ขอนแก่น: ภาควิชาประวัติศาสตร์และโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2555). ประวัติศาสตร์ลาวหลายมิติ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2555). พระประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ: มติชน.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2556). พงศาวดารเรื่องไทยรบพม่า. กรุงเทพฯ: มติชน.

นราธิปประพันธ์พงศ์, กรมพระ. (2550). พระราชพงศาวดารพม่า. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

พงศาวดารฉบับหอแก้ว. (2545). มหาราชวงษ์ พงษาวดารพม่า. (นายต่อ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มติชน.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2523). ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ในพระราชพงศาวดารอยุธยา. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

__________. (2538). กรุงแตก, พระเจ้าตากฯ และประวัติศาสตร์ไทย: ว่าด้วยประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์นิพนธ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

__________. (2557). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: มติชน.

ภมรี สุรเกียรติ. (2553). เมียนมาร์-สยามยุทธ์. กรุงเทพฯ: สำมติชน.

วันวลิต. (2548). พระราชพงศาวดารฉบับวันวลิต พ.ศ. 2181. กรุงเทพฯ: มติชน.

ศิลปากร, กรม. (2515). คำให้การชาวกรุงเก่า คำให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า.กรุงเทพฯ: คลังวิทยา.

ศิลปากร, กรม. (2545). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 9. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.

สิลา วีระวงส์, มหา. (2540). ประวัติศาสตร์ลาว. (สมหมาย เปรมจิตต์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มติชน.

สุเนดโพทิสาน และ หนูฮัก พูมสะหวัน. (2551). ประวัติศาสตร์ลาว (ดึกดำบรรพ์-ปัจจุบัน). (ทรงคุณ จันทจร, ผู้แปล). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2537). พม่ารบไทย: ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2538). บุเรงนอง (กะยอดินนรธา): กษัตริย์พม่าในโลกทัศน์ไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2539). สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 ศึกษาจากพงศาวดารพม่าฉบับรชวงศ์คองบอง. กรุงเทพฯ: มติชน.

โหราธิบดี, พระ. (2498). พระราชพงศาวดารกรุงเก่า (ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

Aung-Thwin, Michael and Aung-Thwin, Maitrii. (2012). A History of Myanmar since Ancient times: Traditions and Transformations. London: Reaktion Books.

Peter and Sanda Simms. (1999). The Kingdoms of Laos: Six Hundred Years of History. London: Curzon Press.

Rajanubhab, Damrong. (2001). The chronicle of our wars with the Burmese: hostilities between Siamese and Burmese when Ayutthaya was the capital of Siam. (PhraPhraison Salarak (U AungThein), Trans). Bangkok: White Lotus.