กระบวนการดำเนินงานของเครือข่ายชุมชนในพื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ The Community Network Operations Process in Sa-eab Sub District, Song District, Phrae Province

Main Article Content

วรสิทธิ์ เจริญศิลป์
ธันยวัฒน์ รัตนสัค

Abstract

This research aimed to study the community network operations process in Sa-eab sub district and study supporting factors and the factors that hindered the community network operations process in Sa-eab sub district. The study was qualitative research using documentary study, non-participant observations and in-depth interview from 22 key informants, who were selected by using snowball sampling.


The results revealed that the community network operations process in Sa-eab sub district could be described in 4 sessions: (1) The establishment of network, (2) The expansion of network, (3) The movement of network and (4) After the implementation of the network goals. The supporting factors to the community network operations process were (1) leadership, (2) the support of non-profit organization and (3) the social capital in culture context of the people in Sa-eab sub district. The factors that hindered to the community network operations process were (1) the conflict among network members and (2) the national politic intervention. 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles

References

ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ. (2543). นิเวศวิทยาการเมืองของการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ในประเทศไทย: กรณีศึกษาโครงการแก่งเสือเต้น.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ, บรรณาธิการ. (2543). หายนะ – ความขัดแย้ง เบื้องหลัง โครงการผันน้ำและเขื่อนขนาดใหญ่ภาคเหนือและข้อเสนอเชิงนโยบาย. เชียงใหม่: เครือข่ายแม่น้ำแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ณัฐภัทร สุนทรมีเสถียร. (2552). ทุนทางสังคมกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลบางสน หมู่บ้าน หัวนอน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธีรวิชญ์ จันทกูล. (2557). การสร้างเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นสู่ตำบลสุขภาวะ กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นุชนาฎ จันทวิเศษ. (2543). การศึกษาเครือข่ายในการจัดการทรัพยากรแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษา: ชุมชนคูขุดทะเลสาบสงขลา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.

บูชิตา สังข์แก้ว. (2556). พลวัตรการพัฒนาการกระจายอำนาจตัดสินใจสำหรับตัวแสดงท้องถิ่นในกระบวนการกำหนดโครงการเขื่อน
ชลประทานขนาดใหญ่ ศึกษากรณี โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น พ.ศ.2520-2556. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.

บูชิตา สังข์แก้ว และโกวิทย์ พวงงาม. (2558). “พลวัตการพัฒนาการกระจายอำนาจตัดสินใจสำหรับตัวแสดงท้องถิ่นในกระบวนการกำหนดโครงการเขื่อนขนาดใหญ่: ศึกษากรณีโครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น”. วารสารวิจัย มสด สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,
11(1), 113-126.

ปรีชา วงศ์ทิพย์. (2555). การพัฒนาชุมชนประยุกต์: แนวคิดและการบูรณาการ. กรุงเทพฯ: สถาบันเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็น
สุข (สรส.).

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2547). เครือข่าย: ธรรมชาติ ความรู้และการจัดการ. กรุงเทพฯ: โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็น
สุข (สรส.).

พงศ์เสวก เอนกจำนงค์พร และ นวพร ศิริบันเทิงศิลป์. (2555). “สิทธิชุมชนกับการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย”.
วารสารนักบริหาร, 32(1), 183-189.

ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2551). นครแพร่ จากอดีตมาปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิต. (2555). เขื่อนแก่งเสือเต้น 23 ปี แห่งการต่อสู้ของชาวสะเอียบ. วันที่สืบค้นข้อมูล 12 มกราคม 2558. จาก
https://www.livingriversiam.org.

สหธนฑ์ แก้วมงคล. (2554). วิถีชุมชนกับการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น: ศึกษากรณีชุมชนตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สังกมา สารวัตร. (2558). “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่: ศึกษากรณีเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”. วารสารการเมือง
การปกครอง, 5(2), 83-111.

สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. (2538). บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศไทยในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสรี พงศ์พิศ. (2552). ยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พลังปัญญา.

ตัวแทนจากกลุ่มราษฎร์รักป่า. (2558, 25 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์.

ตัวแทนจากวัดแม่เต้น. (2558, 13 กันยายน). สัมภาษณ์.

ตัวแทนจากหมู่บ้านดอนชัยสักทอง. (2558, 25 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์.

ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลสะเอียบ. (2558, 13 กันยายน). สัมภาษณ์.

ประธานคณะกรรมการคัดค้านเขื่อนแก่งเสือเต้น 4 หมู่บ้าน. (2559, 11 กุมภาพันธ์). สัมภาษณ์.