การสำรวจงานวิจัยที่เกียวกับคำยืมภาษาบาลีสันสกฤต The Survey of Research Works on Pali-Sanskrit Loanwords

Main Article Content

จิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา

Abstract

This research aims to present the result of surveying the research works which studied Pali and Sanskrit loanwords. There are two groups of research works, i.e. the research works which studied loanwords which were either Pali or Sanskrit and the research works which studied the loanwords including both Pali and Sanskrit. From the study of two types of research works, it was found that the studied data were found in Thai dictionaries, Thai language school textbooks, literature and inscriptions of the various periods. To the scopes of the studied subject matters, they were divided into the study of word origin, the classification of word groups based on word origin, the change of word forms, the change of word sounds, the change of word meanings. The concepts of the studies were taken from the explanation concerning scholars’ explanation of Thai language and its grammar; Pali and Sanskrit languages and their grammar; linguistics such as sound system of Thai language, sound system of Pali and Sanskrit languages, the change of sounds, the change of meanings and the change of loanwords. Thai dictionary, Pali dictionary and Sanskrit dictionary were the most important references of the research works on Pali and Sanskrit in Thai language.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles

References

เกรียงไกร กองเส็ง, เพียรทอง อังผาดผล, สิงห์คำ สอนแปง, สมจิตร ทองตระกูล และอารีย์ คำนึงครวญ. (2547). คำยืมที่ปรากฏในไตรภูมิพระร่วง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ขนิษฐา เอมห้อง. (2550). คำยืมที่ปรากฏในลิลิตพระลอ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัย
นเรศวร.

จิรภัทร แก้วกู่. (2545). ลักษณะไวยากรณ์ของคำยืมจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่ปรากฏในพระปฐมสมโพธิกถา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไทรงาม ประมวลศิลป์ชัย. (2532). วัฒนธรรมภาษาของคำยืมที่ปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.

นิมิตร สิทธิศุภเศรษฐ์. (2549). การวิเคราะห์ศัพท์บาลีสันสกฤตในวรรณกรรมล้านนา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประเสริฐ ศรีราชพัฒน์. (2530). การศึกษาเชิงวิเคราะห์ภาษาบาลี-สันสกฤตในวรรณกรรมท้องถิ่นนครศรีธรรมราชประเภทนิทานและคำสอน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาภาษาตะวันออก, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระมหาสมเกียรติ ศรีรุณ. (2546). วิเคราะห์การใช้รูปศัพท์ภาษาบาลีในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดทักษสัมพันธ์ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พระมหาสุเทพ พรมเลิศ. (2542). คำยืมในจารึกไทยอีสาน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, ภาควิชา
ภาษาตะวันออก, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พัฒน์ เพ็งผลา. (2532). การวิเคราะห์คำบาลีสันสกฤตในภาษาไทย: คำกิตก์ คำอุปสรรค คำสมาส-สนธิ และคำตัทธิต. ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พิษณุพงษ์ ญาณศิริ. (2549). วิเคราะห์คำยืมภาษาต่างประเทศในเพลงลูกทุ่ง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วัชรีย์ เพชรรัตน์. (2553). การรวบรวมคำศัพท์ภาษาบาลีในวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษา. สถาบันทดสอบทางการศึกษา.

วันทนีย์ ม่วงบุญ. (2532). คำยืมในจารึกสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจารึกภาษาไทย. ภาควิชาภาษาตะวันออก, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วาสินี กุลรัตน์. (2535). คำยืมในพจนานุกรมอีสาน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.

วิสูตร อุ่นใจ. (2542). การศึกษาเปรียบเทียบคำยืมภาษาบาลีในภาษาไทยและภาษาลาว. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศราวุฒิ หล่อดี. (2557). คำยืมภาษาสันสกฤตในนิทานเวตาล. สาขาวิชาภาษาไทย, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยพะเยา.

สราวุธ จันสีหา. (2542). การเปลี่ยนแปลงคำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตที่ปรากฏในพระปฐมสมโพธิกถา. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (2549). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านคำและความหมายของคำภาษาบาลี-สันสกฤตในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 และ พ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อมรรัตน์ อมราพิทักษ์. (2539). คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตในวรรณกรรม เรื่อง มหาภารตยุทธ ของสุภร ผลชีวิน. วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต้.

อุทัยวรรณ นิยมมี. (2534). คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตในมหาชาติคำหลวงกัณฑ์ทศพร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, ภาควิชาภาษาตะวันออก, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.