Before Becoming the Dusit Zoo: Its Origin and Development from the King Rama V Period to A.D. 1938

Main Article Content

Tirasak Thongdee
Nathaporn Thaijongrak

Abstract

The purpose of this research is to study the establishment of Khao Din Wana and its development from the reign of King Rama V to A.D. 1938. It employed a historical approach using primary and secondary sources, including archival materials, memoirs, royal rescripts, Thai Government Gazettes, theses and books about animal collections as well as domestic and international travelogues of King Rama V that led to the founding of Khao Din Wana. Presented in the form of analytical description, the research found that King Rama V had visited botanical and zoological gardens in Southeast Asian and South Asian countries during 1867-1877. These experiences then led to the establishment of Khao Din Wana in Dusit Palace in 1899. Originally, Khao Din Wana was intended to be a creational botanical garden, where animals and wildlife were kept within the designated areas in the Dusit Palace. In 1938, Khao Din Wana was eventually turned into the Dusit Zoo.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Research article

References

กรมศิลปากร. (2514). จดหมายเหตุเสด็จประพาสเกาะชวาในรัชกาลที่ 5 ครั้งที่ 1 และ 2 ใน หนังสืออนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ หม่อมเกษร สนิทวงศ์ ณ เมรุ วัดมกุฏกษัตริยาราม พระนคร วันที่ 13 พฤษภาคม พุทธศักราช 2514. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มนตรี.

การกำหนดแห่พระเสวตรวชิรพาห ขึ้นยืนโรงในพระราชวังสวนดุสิต. (2455, 17 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 2681.

เกยูร ศรีม่วง. (2531). สวนสัตว์ดุสิต. ใน ที่ระลึกในวาระครบรอบ 50 ปี สวนสัตว์ดุสิต 18 มีนาคม 2531 (หน้า 13-16). กรุงเทพฯ: องค์การสวนสัตว์.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2458). พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตั้งแต่ พ.ศ. 2417 ถึง พ.ศ. 2453) ใน หนังสืออนุสรณ์ในงานศพ อำพัน มารดา พุทธศักราช 2458. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2501). พระราชหัตถเลขาส่วนพระองค์ สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชทานแด่ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง ในเวลาที่ ทรงสำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์เมื่อเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พ.ศ. 2440 ภาค 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ประทานในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาเสวกเอก พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 9 กรกฎาคม 2501).

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2526). พระราชหัตถเลขาสมเด็จพระปิยมหาราชพระราชทานเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ และประวัติเจ้าคุณพ่อ ใน หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงเรียบ สนิทวงศ์ ท.จ. ณ เมรุวัดธาตุทอง วันพุธที่ 8 มิถุนายน 2526. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตีรณสาร.

แจ้งความเรื่องสวนดุสิต. (2441, 12 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 543.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, สุชาติ สวัสดิ์ศรี และอรอนงค์ ทิพย์พิมล. (2547). รัชกาลที่ 5: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2522). เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)(เจ้าคุณกรมท่า). ใน หนังสืออนุสรณ์งานศพ นายเทอด บุนนาค ณ เมรุวัดธาตุทอง วันที่ 16 สิงหาคม 2522. ม.ป.ท.

ดำเนิร เลขะกุล. (2504). สวนสัตว์ดุสิต. อนุสาร อสท., 2(2), 37-45.

ทิวาพร ใจก้อน. (2555). แนวคิดและความรู้เรื่องศัตรูพืชในสังคมไทย พ.ศ. 2435-2487. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2546). ภาวะอย่างไรหนอที่เรียกว่าศิวิไลซ์ เมื่อชนชั้นนำสยามสมัยรัชกาลที่ 5 แสวงหาสถานะของตนเอง ผ่านการเดินทางและพิพิธภัณฑ์ทั้งในและนอกประเทศ. รัฐศาสตร์สาร, 24(2), 1-66.

แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, ณพิศร กฤตติกากุล และดรุณี แก้วม่วง. (2525). พระราชวังและวังในกรุงเทพฯ (พ.ศ. 2325-2525). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2519). ประวัติของฉัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

บัณฑิต จุลาสัย และพีรศรี โพวาทอง. (2550). การศึกษาข้อมูลในเอกสารประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมพระราชวังดุสิต: รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บัณฑิต จุลาสัย และพีรศรี โพวาทอง. (2557). วังสวนดุสิต. กรุงเทพฯ: มติชน.

ประเก็บ คล่องตรวจโรค. (2513). สารคดีนิยายแห่งชีวิต 50 ปีของข้าพเจ้า. ม.ป.ท.

ปิ่นเพชร จำปา. (2545). วัฒนธรรมการท่องเที่ยวในสังคมไทย พ.ศ. 2394-2544. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์, คณะศิลปะศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิจิตรมาตรา, ขุน. (2524). กรุงเทพฯ เมื่อ 70 ปีก่อน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เรืองศิลป์.

วีระยุทธ ปีสาลี. (2555). ชีวิตยามค่ำคืนในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2427-2488. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีรยุทธ ศรีสุวรรณกิจ. (2545). การพักผ่อนหย่อนใจแบบตะวันตกของชนชั้นนำสยาม พ.ศ. 2445-2475. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรีสหเทพ, พระยา. (2451). จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ. 116 เล่ม 1 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.

ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (2560). เขาดิน เดิมไม่ใช่สวนสัตว์ แต่เป็น botanical garden ไฮโซ ในพระราชวังสวนดุสิต. เข้าถึงได้จาก https://thematter.co/thinkers/dusit-zoo/40695

สมชาย พุ่มสะอาด. (2516). สารวิทยคดี. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

สหาย สาคชิดอนันท์. (2546). ร.5 เสด็จอินเดีย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2481). สร.0201.31/4 การจัดสวนพฤกษศาสตร์และสวนสัตว์ ที่ลุมพินี (พ.ศ. 2481-2496).

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. (บรรณาธิการ). (2560). สิงสาราสัตว์ : มานุษยวิทยาว่าด้วยสัตว์และสัตว์ศึกษา.กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา.

เอกชัย เอื้อธารพิสิฐ. (2545). สวนสัตว์: มายาคติว่าด้วยธรรมชาติและสัตว์ป่า. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, สาขาวิชามานุษยวิทยา, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Mullan, B., & Marvin, G. (1998). Zoo culture (2nd ed.). Illinois: University of Illinois Press.

Kisling, V. N. (2001). Zoo and aquarium history: ancient animal collections to zoological gardens. Washington D.C.: CRC Press.