ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวอินทรีย์: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลินครคง จังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

ฉัตรชัย อินทสังข์
ณพรรณ สินธุศิริ
ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง
ปุริม หนุนนัด
เกศชฎา ธงประชา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพ และการพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวอินทรีย์ การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ประชาชนเขตเทศบาลนครนครราชสีมาจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นอกจากนี้การสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวนทั้งหมด 16 คน ในจังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วย กลุ่มผู้รักสุขภาพและผู้สูงอายุจำนวนอย่างละ 8 คน ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างมีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าเพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ คือ ด้านความสะดวกในการซื้อ ด้านคุณภาพสินค้าและด้านราคาที่ยุติธรรม ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ผลการสัมภาษณ์พบว่า การจัดจำหน่ายผ่านระบบออฟไลน์และออนไลน์ มีความจำเป็นต่อการดำเนินงานของผู้ประกอบการ งานวิจัยนี้จะช่วยเติมเต็มและทำให้ทราบถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อการตัดสินใจซื้อ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกพร กลิ่นเกลา. (2558). พฤติกรรมการซื้อสินค้าและกลยุทธ์การตลาดในแต่ละช่องทางการจำหน่ายข้าวอินทรีย์. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการตลาด, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กมลภพ ทิพย์ปาละ. (2555). กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการซื้อกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวระบบดิจิทัล. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2554). การวิจัยเชิงคุณภาพในสวัสดิการสังคม: แนวคิดและวิธีการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฉัตรชัย อินทสังข์. (2561). การบริหารการค้าปลีก. นครราชสีมา: ไออุ่น ปรินท์.

ฉัตรชัย อินทสังข์ และคณะ. (2562). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครราชสีมา: เอ็กปริ้นติ้ง.

ณัฐภัทร วัฒนถาวร. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารคลีนฟู้ดของประชากรในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ฐิติชัย อธิคมกุลชัย และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจรับซื้อขยะรีไซเคิลในจังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 2092- 2110.

ทวีศักดิ์ แสวงสาย. (2561). การพัฒนาการตลาดผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์แปรรูปเพื่อสุขภาพ กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ข่าวเศรษฐกิจและการเงินเดือนกรกฎาคม ปี 2562. เข้าถึงได้จาก https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press.

ธิติมา พัดลม และกุลเชษฐ์ มงคล. (2558). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้ออาหารคลีนฟู้ดผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 4(2), 6-21.

ธนัฏฐา ศิวะลีราวิลาศ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าร้านอีฟแอนด์บอย (EVEANDBOY) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธันยมัย เจียรกุล. (2557). ปัญหาและแนวทางการปรับตัวของ OTOP เพื่อพร้อมรับการเปิด AEC. วารสารนักบริหาร, 34(1), 177-191.

ประสิทธิ์ รัตนพันธ์, มณีรัตน์ รัตนพันธ์ และจาริณี แซ่ว่อง. (2561). การพัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหาร จังหวัดสงขลา. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 11(4), 42-52.

ปรีชญา เอี่ยมวงศ์นที. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการซื้อสินค้าท็อปส์ซูเปอร์มาร์เก็ต (Tops Supermarkets) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัฐพล สังคะสุข, กัลยา นาคลังกา, วิริยาภรณ์ เอกผล และวรพรรณ สุรัสวดีการ. (2560). พัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1), 38-49.

วารุณี ตันติวงศ์วาณิช. (2555). ธุรกิจการค้าปลีก (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิจัยกรุงศรีอยุธยา. (2561). แนวโน้มอุตสาหกรรมข้าวปี 2561-2563. เข้าถึงได้จาก https://www.krungsri.com/bank/getmedia/578889e0-fc28-4e20-bc48-31f0dbe04a3d/IO_Rice_2018_TH.aspx

วิโรจน์ ทิพย์วิบูลย์ชัย. (2557). ผลกระทบของการนำเทคโนโลยีทางการขายมาใช้ความสามารถในการถูกฝึกสอน และความฉลาดทางอารมณ์ที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของผู้แทนขายของบริษัทยาในประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา, 9(1), 16-27.

สุธีรา เดชนครินทร์, ธนัญญา ยินเจริญ และอัคญาณ อารยะญาณ. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลเกาะแต้ว จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(53), 225-254.

สุภางค์ จันทวานิช. (2554). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภารดี สวนโสกเชือก, ภรณี หลาวทอง, อัญชนา มาลาคำ และทิพเนตร คงมี. (2561). แนวทางการพัฒนาตลาดเชิงสร้างสรรค์ ข้าวอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์. PULINET Journal, 5(3), 107-117.

สุวนาถ ทองสองยอด และภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา. (2561). แนวทางการพัฒนาช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เกลือตำบลบานา จังหวัดปัตตานี. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 13(1), 14-28.

สุวิทย์ นามบุญเรือง. (2560). การบริหารช่องทางการตลาด. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สุวิมล ติรกานันท์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฎิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Carson, D. J., Gilmore, A., Perry, C., & Gronhaug, K. (2001). Qualitative marketing research. London: Sage.

Chainirun, P. (2012). Socail media marketing strategy. Samut Prakan: WPS.

Cronbach, L. J. (2003). Essential of psychology testing. New York: Hanpercollishes.

Cochran, W. G. (1977). Sampling technique (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons.

Coughlan, A. T., Anderson, E., Stern, L. W., & El-Ansary, A. (2006). Marketing channels (7th ed.). New Jersy: Person Prentice Hall.

Engel, J. F., Blackwell, R. D., & Miniard, P. W. (1995). Consumer behavior (6th ed.). New York: Dryden Press.

Hair, J. F., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Pelton, L. E., Strutton, D., & Lumpkin, J. R. (2002). Marketing channels: A relationship management approach (2nd ed.). Irwin: McGraw-Hill.

Sari, A., & Bayram, P. (2015). Challenges of internal and external variables of consumer behaviour towards mobile commerce. International Journal of Communications, Network and System Sciences, 8(13), 578-596.