สภาพการแข่งขันส่งออกกุ้งแช่แข็งของไทยไปสู่ตลาดสหรัฐอเมริกา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัย มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสถานภาพของอุตสาหกรรมอาหารกุ้งแช่แข็ง ไทยไปสู่ประเทศสหรัฐอเมริกา 2. เพื่อศึกษาสภาวะการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารกุ้งแช่แข็ง ไทยไปสู่ประเทศสหรัฐอเมริกา เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากร คือ กลุ่มผู้ส่งออกไทยในอุตสาหกรรมอาหารกุ้งแช่เข็ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มาใช้บริการด้านการส่งออกที่ธนาคารเพื่อการส่งออก และนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) สำนักงานใหญ่ ปี 2562 จำนวน 15 ราย การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารกุ้งแช่เข็ง ของผู้ส่งออกไทย ได้แก่ ปัจจัยภายใน (Internal Factor) เช่น ต้นทุนการผลิต คุณภาพผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการจัดการวัตถุดิบ การวิจัยและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การมีพันธมิตรทางการค้า ปัจจัยที่ส่งผลทางบวก หรือสร้างโอกาส ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิต รองลงมาได้แก่ ทักษะความรู้ความชำนาญของพนักงาน ระบบงาน และระบบการจัดจำหน่าย ที่มีประสิทธิภาพ และปัจจัยเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารกุ้งแช่เข็งผู้ส่งออกไทย ได้แก่ ความเพียงพอในวัตถุดิบในประเทศที่ใช้ในการผลิต รองลงมาได้แก่ ราคาของวัตถุดิบในประเทศ ต้นทุนพลังงานสูง อำนาจต่อรองของผู้ซื้อและคู่แข่งจากต่างประเทศ ส่วนนโยบายจากภาครัฐ จะมีผลกระทบทางด้านบวกแก่ผู้ส่งออกซึ่งจะเป็นการเพิ่มโอกาสโดยเฉพาะโครงการเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศสหรัฐอเมริกา
Article Details
References
จิรังรัชต์. (2546). กุ้งสดแช่แข็งไทย. วารสารข่าวกุ้งเครือเจริญโภคภัณฑ์. ฉบับที่ 3,5. กรุงเทพฯ : เครือเจริญโภคภัณฑ์.
จุมพล ตียวณิชย์. (2547). ความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของปริมาณการส่งออกกุ้งสดแช่แข็งไทยไปตลาดญี่ปุ่นในทัศนะของผู้ส่งออก. สาระนิพนธ์ปริญญาธุรกิจมหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณาตยา ศรีจันทึก. (2554). สินค้ากุ้งกับการทุ่มตลาด. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554.
ตลาดสินค้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็งในเยอรมนี. (2555). สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี, เมษายน 2555.
ทรงสุดา ยนต์นิยม. (2549). การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของผักและผลไม้ส่งออกของไทยในตลาดที่สำคัญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต.เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นงนุช ผลชอบ. (2547). ความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศและปัจจัยที่กำหนดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พรชัย ชูเลิศมงคล. (2542). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออุปสงค์การสั่งเข้ากุ้งสดแช่เข็งไทยของประเทศญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์.
พรพรรณ ชื่นประเสริฐสุข. (2546). ความสามารถในการแข่งขันของหัตถอุตสาหกรรมเซรามิก กรณีศึกษา เซรามิกศิลาดล. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญศรี ค้าเจริญ. (2544). การศึกษาถึงความสามารถในการส่งออกสินค้าของไทยไปญี่ปุ่น. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์.
ยุทธศักดิ์ สุภสร. (2550). แนวโน้มการส่งออกอาหารของไทยปี 2549 และพยากรณ์การส่งออกปี 2550. เอกสารประกอบการสัมมนา. กรุงเทพฯ
ราวดี สุริสระพันธุ์. (2542). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งออกสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วาทิน ธาวนพงษ์. (2543). ปัจจัยที่กําหนดความต้องการนําเข้ากุ้งแช่แข็งจากไทยของสหรัฐอเมริกา
และญี่ปุ่น. หลักสูตรเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรธุรกิจ) สาขาวิชา
เศรษฐศาสตร์เกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิชาญ น่วมขยัน. (2539). การส่งออกกุ้งสดแช่แข็งของไทย ภายใต้ข้อตกลงของแกตต์: กรณีศึกษาตลาดญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศุภชัย จองจิตพิศุทธิ์. (2545). ความสามารถในการแข่งขันการส่งออกของไทยหลังระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สุวินัย ต่อศิริสุข และ อุตตม สาวนายน. (2545). ยุทธวิธีการแข่งขัน.กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยุเคชั่น จำกัด (มหาชน).
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง. (2548). การศึกษาศักยภาพการผลิตการตลาดกุ้งขาวแวนนาไมของประเทศไทยปี 2548. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2548.
อำพร เลาวพงษ์. (2555). มุมมองอุตสาหกรรมประมงไทย : จากวิกฤตในปี 2554 และโอกาสในปี 2555. ส่วนเศรษฐกิจการประมง กรมประมง, 2555.
Boomming, S. Shirmp Market Business. Interviewed on December 22,2017, (in thai
Boontaree, C. (2015). A study of supply chain of Oil Palm Ramp in Pakpanang. River Basin Journal of Transportation and Logistics, 8, 12-20.(in Thai)
Conference on Thailand’s Dynamic Economy Recory and CompetitivenessZDraft. (1998). United Nation Conference Center.
International Institue for Management Development (MID). (1998). The World Competitive Yearbook.
FAO GLOBEFISH. Shrimp Asia March 2012. http://www.globefish.org/shrimp-eu-march-2012.html, 2012.
FAO GLOBEFISH. Shrimp EU March 2012. http://www.globefish.org/shrimp-asia-march-2012.html, 2012.
Food and Agriculture Organization of The United Nations. Fishery and aquaculture statistics yearbook 2009. Food and Agriculture Organization of The United Nations,
2011.
WTO Watch. การทุ่มตลาด (Dumping). http://www.thailandwto.org/Doc/Dict/1-Dumping.doc
Michael E.Porter. (1998). The Competitive Advantage of Nations (With a new Introduction). Macmillan Press LTD.