ต่างชาติ ต่างภาษาในสาสตฺราแลฺบงเขมร

Main Article Content

ชาญชัย คงเพียรธรรม

บทคัดย่อ

ชาวต่างชาติ  ต่างภาษาที่ปรากฏในสาสตฺราแลฺบงของเขมรมีทั้งสิ้น 16 ชาติ คือ ชาวอินเดีย  ชาวจีน  ชาวชวา  ชาวไทย  ชาวเวียดนาม  ชาวจาม  ชาวพม่า ชาวลาว  ชาวฟิลิปปินส์  ชาวมอญ  ชาวญี่ปุ่น  ชาวกวย  ชาวปัว  ชาวฮอลันดา  ชาวฝรั่งเศส  และชาวอังกฤษ ตัวละครชาวต่างชาติ ต่างภาษาเหล่านี้  แม้จะรับบทเป็นเพียงแค่ตัวประกอบในวรรณคดีเขมร ประเภทสาสตฺราแลฺบง  หากแต่ได้ช่วยสะท้อนภาพสังคมเขมรในอดีต ที่ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ ซึ่งเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับคนเขมรในมิติต่างๆ  ทั้งในด้านการเมือง  เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

ภาษาไทย
ใกล้รุ่ง อามระดิษ. (2552). ภาพแทนของคนไทยและเมืองไทยที่ปรากฏในวรรณกรรมเขมร. ใน ไทยในความรับรู้และ
ความเข้าใจของประเทศเพื่อนบ้าน. สุเนตร ชุตินทรานนท์ บรรณาธิการ. ม.ป.ท..
จิตร ภูมิศักดิ์. (2545). เนะ เสียมกุก. ใน เสียมกุก กองทัพสยามที่ปราสาทนครวัดเป็นใคร? ไทย ลาว หรือข่า. สุจิตต์
วงศ์เทศ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มติชน.
ธีรภัท ชัยพิพัฒน์. (2551). สังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อปปี้.
นรเศรษฐ พิสิฐพันพร. (2550). “จามเขมร”. วารสารอินโดจีนศึกษา ฉบับเพื่อนบ้านของไทย, 8 (1), 65-72.
วิทย์ ศิวะศิริยานนท์. (2541). วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ธรรมชาติ.

ภาษาอังกฤษ
Chandler, P. David. (1993). A History of Cambodia. Second edition. Chiang Mai: Silkworm Books.
Osborne, E. Milton. (1969). The French Presence in Cochinchina and Cambodia: Rule and
Response (1859-1905). New York: Cornell University Press.
Pou, Saveros and Jenner N. Philip. (1973). “Some Chinese Lownwords in Khmer”. Journal of Oriental
Studies, 11 (1), 1-90.

ภาษาเขมร
เกา. (1952). พฺระโค พฺระแกว. ภฺนมเพญ: บณฺณาคารคีม-คี.
ชวน ณาต, สมฺเดจฺพฺระสงฺฆราช . (1967). วจฺนานุกฺรมแขฺมร. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบณฺฑิตฺย.
ฆีง หุก ฑี. (2008). รสฺมีกมฺมอกฺสรสิลฺปจินเลอกมฺพุชานาสตวรรสที 19 นิง 20. ภฺนมเพญ: องฺคร.
ขฺยงสังฺข. (1961). ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบัณฺฑิตฺย.
ตนฺ. มืนภกฺดีอกฺสร. สพฺวสิทฺธิ์. เบาะพุมฺมเลิกที 7. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบณฺฑิตย.
ทิพฺวสงฺวาร 1. (2006). ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบณฺฑิตย.
นง, อกฺญาพฺระฆฺลัง. (1966). โภคกุลกุมาร. เบาะพุมฺมเลิกที 2. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบณฺฑิตย.
มิเสล ตฺราเน. (1996). ปฺรวตฺติสาสฺตฺรกมฺพุชาปีบุพฺวสมัยฎล่สตวรรสที 8. n.p.
ยส งิน. (1966). เจาสฺรทบเจก. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบัณฺฑิตย.
รส่ จนฺทฺราบุตฺร. (1998). ปฺรวตฺติสาสฺตฺรแขฺมร. Paris: L’Harmattan.
สาน ผลฺลา. (2007). คมฺนูเนาตามวตฺต. ภฺนมเพญ: ไรยุม.
โสม, พฺระปทุมเถร. (2003). ทุม ทาว. ภฺนมเพญ: อบ่รม.
หริรกฺสรามาธิบฺดี, พฺระบาทสมฺเดจพระ. กากี. เบาะพุมฺมเลิกที 6. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบัณฺฑิตย.
อกฺญาโกสาธิบฺดี. (1998). กฺรุงสุภมิตฺร. เบาะพุมฺมเลิกที 9. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบัณฺฑิตย.
อุก, ธมฺมปญฺโญ. (1964) มรณมาตา. เบาะพุมฺมเลิกที 3. ภฺนมเพญ: พุทฺธสาสฺนบัณฺฑิตย.

สัมภาษณ์
ดาวเรือง วิทยารัฐ. PH.D.. (1 มิถุนายน 2557) สัมภาษณ์. อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สิริวงษ์ หงษ์สวรรค์, PH.D.. (1 มิถุนายน 2557). สัมภาษณ์. อดีตอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี.