สื่อออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย

Main Article Content

ศุศราภรณ์ แต่งตั้งลำ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมายที่ในการศึกษา คือนักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 400 คน โดยการเลือก แบบเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรง ระหว่าง 0.67 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.894 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่มีความถี่ในการเข้าใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ค 4 – 8 ชั่วโมงอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย คือ โทรศัพท์มือถือ  สื่อสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.47, S.D.=0.69) ซึ่งพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้าน Photo Sharing ( =4.83, S.D.=0.78), ด้านSocial Network ( =4.52,S.D.=0.86) ด้านDiscuss, Review, Opinion ( =4.46,S.D.=0.52) ด้าน Online Video ( =4.21, S.D.=0.18) ด้าน Weblogs ( =4.05, S.D.=0.03)

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2558). โครงการสำรวจข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิง
ลึก.(รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). เที่ยวให้รู้เปิดประตูสมอง. กรุงเทพมหานคร : การท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับ ที่2 (พ.ศ.2560-2564).
กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
คมสิทธิ์ เกยีนวัฒนา. (2558). การเลือกให้ความสนใจต่อสื่อที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวประเทศไทยเทียบ
กับ ประเทศคู่แข่งในอาเซียนของชาวจีนวัยผู้ใหญ่ตอนต้น. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย.11(4), 8-14.
จิราภรณ์ กมลวาทิน. (2556). การรับรู้โฆษณาในอินเทอร์เน็ตต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (ปริญญานิพนธ์บริหารมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง).
สุเมธ สุขมงคล. (2558). สานสัมพันธ์ให้ได้เงินล้าน Online relationship selling. กรุงเทพฯ: โฮมบายเออร์
ไกด์.
อภิชัจ พุกสวัสดิ์ และกุลทิพย์ ศาสตระรุจิ. (2556). การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแสสื่อสังคม ออนไลน์.
Journal of Public Relations and Advertisting, 6(2). 24-38.
อริสรา ลูกกลม. (2558). พฤติกรรมการใช้โชเชียลมีเดียของนักท่องเที่ยวกลุ่มผจญภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์.
(ศิลป ศาสตร์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).
Ana Maria Munar & Jens Kr. Steen Jacobsen. (2014). Motivations for sharing tourism
experiences through social media. Tourism Management, 43: 46-54.
Benthaus, J., Risius, M. and Beck, R. (2016). Social media management strategies for
organizational impression management and their effect on public perception. Journal
of Strategic Information Systems, 25, 127-139.
Brand, A. W. (2014). Social Media Design for Dummies. New Jersey: John Wiley & Sons.
Cronbach, Lee. J. (1990). Essentials of Psychology Testing. 5th ed. NY: Harper Collins
Publishers Inc.
Chung, N. and Koo, C. (2015). The use of social media in travel information search.
Telematics and Informatics, 32, 215-229.
Gulbahar, M. O. and Yildirim, F. (2015). Marketing efforts related to social media channels
and mobile application usage in tourism : Case study in Istanbul. Procedia Social and
Behavioral Sciences, 195, 453-462.
Zeng, B. and Gerritsen, R. (2014). What do we khow about social media in tourism?. A review.
Tourism Management Perspectives. 10, 27-36.