การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษในยุคความปกติใหม่

Main Article Content

สิริกาณณ์ ทองมาก

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายแนวคิดและการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเข้าสู่การ พัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษในยุค New Normal ซึ่งในปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ได้กระจายไปทั่วโลก โดยอัตราการระบาดนั้น ส่งผลกระทบในการดำรงชีวิตของประชาชนคนไทยรวมถึงระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ก็เข้ามามีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในยุคนี้นับเป็นการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบ Active Learning และยังเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาเชิง Productive Learning ซึ่งในการปรับตัวเข้าสู่ยุค New Normal ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากสภาพการณ์ทางสังคมไม่ได้เป็นเรื่องของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่ทุกคนต้องปรับตัวไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนและเรียนรู้ในยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการสอนภาษาอังกฤษในยุค New Normal ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสื่อสาร สามารถนำแนวคิดการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารบูรณาการเข้ากับรูปแบบการเรียนรู้อื่นๆ ที่หลายหลาย เช่น การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน และการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่มากมายมาเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะและความสามารถทางภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็นสำหรับในยุค New Normal ทั้งในด้านการดำเนินชีวิตประจำวันและในด้านอาชีพต่อไป

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ (Academic Article)
Author Biography

สิริกาณณ์ ทองมาก, ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). ปรับหลักสูตรภาษาอังกฤษใช้ CEFR-TH เป็นเกณฑ์.สืบค้น 10 มิถุนายน
2564,http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=46794&Key=hotnews
กัญณภัทร นิธิศวราภากุล, พานิช บัวสำอางค์, นรวัลลภ์ ชุมนุมนาวิน.(2563).นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ
ออกเสียงตัวอักษรในภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Journal of Humanities and Social Sciences) ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2020).หน้า 44-55.
จันทนี อินทรสูต, ธนกร สุวรรณพฤฒิ,และสมบัติ คชสิทธิ์ .(2560). การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กับ
ผู้เรียนยุค THAILAND 4.0. วารสารวไลยลงกรณ์ปริทัศน์ (2), 175-186.
ภูชิศ สถิตพงษ์. (2559). ห้องเรียนอัจฉริยะ: นวัตกรรมการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัยและ
พัฒนาฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์,3(8), 230-254.
ธูปทอง กว้างสวัสดิ์. (2557). การสอนภาษาอังกฤษด้วยเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาภา วังมณีและวรพล ธูปมงคล.(2563).การใช้นวัตกรรมสื่ออินโฟกราฟิกภาษาอังกฤษตำนานท้องถิ่น
เพื่อเสริมสร้างทักษะความเข้าใจภาษาอังกฤษและการตระหนักถึงความสำคัญของตำนานท้องถิ่น ของเยาวชนในจังหวัดเชียงราย.วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Journal of Humanities and Social Sciences) ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2020).หน้า 25-44.
ยงยุทธ ขำคง.(2562).การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพตามบริบทของสังคมไทย.
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Journal of Humanities and Social Sciences) ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (2019).หน้า 11-35.
วิจารณ์ พานิช. (2556). สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สดศรี-สฤษดิ์วงศ.
สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2558). การสื่อสารภาษาอังกฤษ.
สืบค้น 10 มิถุนายน 2564,http://english.obec.go.th/english/2013/index.php/th/2012-08-08-06-24- 42/2012-08-08-06-25-22
สมยศ เม่นแย้ม. (2542). คู่มือครู ครูไทยสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
สุพรรณี อาศัยราช. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านภาษาอังกฤษโดยการใช้กิจกรรมเสริม
แบบเน้นภาระงาน. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
อรุณี วิริยะจิตรา และคณะ. (2555). เหลียวหลังแลหน้า การสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์.
หน้าต่างสู่โลกกว้าง.
โอภาส เกาไศยาภรณ์, วสันต์ อติศัพท์ และ อนุชิต งามขจรวิวัฒน์ . (2560). การออกแบบการเรียน
การสอน .อีเลิร์นนิ่ง : รายการตรวจสอบ. นีโอพ้อยท์ .
David Nunan. (2005). Cambridge Language Teaching Library: Task-Based Language
Teaching. Cambridge: CAMBRIDGE UNIVERSITY PRESS.
Joshua S. Introduction to Online Teaching and Learning. Retrieved June 10, 2021, from http://www.wlac.edu/online/documents/otl.pdf
Marketingoops. (2020 ) .‘COVID-19’ ปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก! ใช้เทคโนโลยีเรียนรูปแบบใหม่ –
‘มหาวิทยาลัยไทย’ สอนผ่านออนไลน์. สืบค้น 10 มิถุนายน 2564, จาก https://www. marketingoops.com/exclusive/businesscase/covid-19-reinvent-global-educationsystem-with-educational-technology.
Muh. Basri Jafar, Abdul Halim Muh. Yahya Akil. (2018). Task-based Language Teaching For
Writing of the Students In Indonesian Tourism Polytechnics (A case study of
the Forth semester students at Tourism management of Polytechnic of
Makassar. Journal of Humanities and Social Science , 2 (23), 27-34.
Partnership for 21st century learning. (2009). Framework for 21st Century Learning. P21
Partnership for 21st Century Learning. Retrieved June 10, 2021, from http://www.p21.org/ourwork/p21- framework.
Pru Cuper Judy Lambert. (2008). Multimedia technologies and familiar spaces: 21st-
century teaching for 21st-century learners. Contemporary Issues in Technology
and Teacher Education , 3 (8), 264-276.
Richarods, j. & Rodgers, T. (2002). Approaches and Methods in Language Teaching. (2nd
ed). Cambridge University Press, USA.
Virginia: TESOL International Association. Tracy D. Terrell Stephen D. Krashen. (1995). The
Natural Approach: Language Acquisition in the Classroom. Cornwall: T.J. International Ltd.