การพัฒนาระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์ สำหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for Education)

Main Article Content

สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) 2. เพื่อออกแบบระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) และ 3. เพื่อประเมินความเหมาะสมระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) ผู้วิจัยได้ใช้หลักการออกแบบ ADDIE Model ในการออกแบบระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์
เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินความเหมาะสม ทำาการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำานวน 12 คน ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการใช้เทคโนโลยีสารสารสนเทศเพื่อการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) มี 2 ด้าน ได้แก่ 1) ระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) ประกอบด้วย กระบวนการจัดกิจกรรมนิเทศฝึกงานบนสภาพแวดล้อมคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น 2) ขั้นตอนระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์ คือ 1. ปฐมนิเทศ : แนะนำาการใช้ระบบนิเทศออนไลน์ 2. นัดหมายการนิเทศออนไลน์ 3. นิเทศออนไลน์ ถาม-ตอบ ระหว่างครูนิเทศก์กับนักศึกษา 4. รายงานผลการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหา 5. ปัจฉิมนิเทศ : เพื่อรายงานภาพรวมของการฝึกงาน ระหว่างครูนิเทศก์ฝึกงานกับนักศึกษาฝึกงานด้วยระบบออนไลน์ 6.ประเมินผลด้วยเครื่องมือ G-Form ซึ่งเป็นเครื่องมือประเมินผลออนไลน์ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำาหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา 2551. 5 มีนาคม 2551. หน้าที่ 3.

เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์. 2548. การจัดการและนิเทศสื่อการศึกษา. ภารกิจการผลิตเอกสารและตารา กลุ่มงานบริการทางการศึกษา มหาวิทยาลัย ำทักษิณ จังหวัดสงขลา.

วิไลภรณ์ จิรวัฒนเศรษฐ. 2559. เด็กยุคดิจิทัลภายใต้สังคมแห่งสื่อออนไลน์และการเรียนรู้ทางสังคม The Digital Generation Kinds within Social Media Society and Social Learning วารสารอนาคตวิทยาทางการศึกษา (Journal of Education Futurology :JEF) ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม – ธันวาคม 2559) ฉบับปฐมฤกษ์

Yuval Dvir. 2563. ไอซีที รับมือ ดิจิทัลเปลี่ยนโลก. งาน AIS ACADEMY FOR THAIS : TO THE REGION ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. 25 กรกฎาคม 2563.

สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์. 2559. กูเกิ้ลแอปพลิเคลชั่น นวัตกรรมเพื่อการศึกษาสำาหรับอาชีวศึกษา “Google App” Innovation for Education to Vocational Education. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559. หน้า 66-77.

สามารถ ทิมนาค. 2011. การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนตามแนวคิดของกลิ๊กแมนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะการอ่านของครูภาษาไทย. Veridian E-Journal SU Vol.4 No.1 May - August 2011.

ฉันทนา ปาปัดถา และณมน จีรังสุวรรณ. (2557). รูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในการศึกษาสร้างสรรค์บนเครือข่ายสังคมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 5 (1) มกราคม-มิถุนายน : 25-34.

พิพัฒน์ อัฒพุธ ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ และดิเรก ธีระ ภูธร. (2560). ผลการใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก วิชาการออกแบบและผลิตสื่อกราฟิกคอมพิวเตอร์ สำาหรับนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ : 19 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 145-154.

อัจฉรา เชยเชิงวิทย์ และธีรพงษ์ วิริยานนท์. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรูปแบบร่วมมือผ่านเครือข่ายสังคม วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน.