การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล ด้วยเทคนิคเดลฟาย

Main Article Content

ฉันทนา ปาปัดถา

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคเดลฟาย โดยการรวบรวมความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์
ด้านสื่อสารมวลชน ประกอบด้วย อาจารย์/นักวิชาการ และนักวิชาชีพสื่อสารมวลชน จำานวน 19 ท่าน ซึ่งทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลจำานวน 3 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1 การประเมินความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับร่างตัว
บ่งชี้สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัลตามกรอบการพัฒนาสมรรถนะบุคคล รอบที่ 2 ประเมินความเหมาะสมของตัวบ่งชี้สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล และ 3) การตรวจสอบความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อยืนยันความคิดเห็น ผลการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัลประกอบด้วย สมรรถนะหลักนักสื่อสารมวลชนดิจิทัล 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ 16 ตัวบ่งชี้ ด้านเทคนิคการผลิต 10 ตัวบ่งชี้ ด้านบริหารจัดการและการทำางาน 8 ตัวบ่งชี้ และด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 7 ตัวบ่งชี้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สมควร กวียะ. (2539). การสื่อสารมวลชนบทบาทหน้าที่ เสรีภาพ และความรับผิดชอบ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2549). สังคมสื่อ สงครามการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Eric Schmidt and Jared Cohen แปลโดยสุทธวิชญ์ แสงดาษดา. (2557). ดิจิทัลเปลี่ยนโลก.กรุงเทพฯ: โพสต์ พับลิซซิง.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์.(2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: Openworlds.

สุรพงษ์ โสธนเสถียร และอรรถพร กงวิไล. (2549).สถานภาพองค์ความรู้ของการจัดการทางการสื่อสารในประเทศ (ภายใต้โครงการ หลักและแนวทางการบริหารการสื่อสาร: มิติทั้งสามด้านการจัดการทางการสื่อสาร การจัดการทางการสื่อสาร และการบริหารงานสื่อสารมวลชน.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประสิทธิภัณฑ์แอนด์พริ้นติ้ง.

มาลี บุญศิริพันธ์. (2556). วารสารศาสตร์เบื้องต้น ปรัชญาและแนวคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

McClelland, D. C. (1973). “Testing for competence rather than intelligence.” American Psychologist. Vol.28 No.1 : 1-19.

Nordhaug, O. (1993). Human Capital in Organization : Competence, Training, and Learning. New York : Oxford University Press.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2556). CompetencyBased Approach. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:เดอะ กราฟิก โก ซิสเต็ม.

สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.(2548). คู่มือสมรรถนะข้าราชการพลเรือนไทย.กรุงเทพฯ: สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SME) ด้วย AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2550). ระเบียบวิธีวิจัย:แนวปฏิบัติสู่ความสำาเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์มีเดีย.

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2547). “แนวคิดเรื่อง สมรรถนะ Competency: เรื่องเก่าที่เรายังหลงทาง”. Chulalongkon Review, 16 (4), 57-72.

ชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์. (2552). คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์. สืบค้นจาก http://home.kku.ac.th/chuare/e-article/graduateframework.pdf

Partnership for 21st Century skills. 2011.Framework for 21st Century Learning.Last modified March, 2011 Available:http:// www.p21.org/storage/ documents /1.__p21_framework_2-pager.pdf