ความฉลาดทางดิจิทัลกับทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

ธนวัฒน์ เจริญษา
สุภาณี เส็งศรี

บทคัดย่อ

         ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญทักษะหนึ่งที่ทุกคนต้องเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยทักษะนี้จะปลุกกระตุ้นการให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนเน้นทางด้านทักษะเชิงความคิดสร้างสรรค์ มีวิจารณญาณ การสื่อสารได้อย่างเหมาะสมและการทำงานร่วมกับผู้อื่นนอกจากนี้ ผู้เรียนยังต้องมีทักษะในการเลือก รู้เท่าทันเทคโนโลยีรวมถึงสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้จักวิธีการรับมือกับเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ รอบตัว รวมไปถึงต้องรู้วิธีการที่จะดำเนินชีวิตในยุคที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็วได้อย่างปลอดภัยและเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีความสุขท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ธนะวัชร จริยะภูมิและพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2558). รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในศตวรรษที่ 21. วารสารปัญญาภิวัฒน์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3. 292-302.

พรชัย เจดามา, เผชิญ กิจระการ, ไพรฑรูย์ พิมพ์ดี, กลวัชร วังสะอาด, อัครพงศ์ สุมาตร์, และเจริญ สุขทรัพย์. (2559). [ออนไลน์]. การพัฒนาการศึกษาภายใต้กรอบประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21 The Development Education Issue of Thailand 4,0 towards 21st Century. [สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563]. จาก https://www.kroobannok.com/news_file/ p81770280746.pdf

Park, Y. (2016). 8 digital skills we must teach our children. Retrieved February 20, 2020, From https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-we-must-teach-our-children

บุญชนก ธรรมวงศา. (2561). [ออนไลน์]. 4CS : สี่ทักษะการเรียนรู้ที่ควรมี ฝึกกันได้ และไม่ต้องใช้พรสวรรค์. [สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563]. จาก https://thepotential.org/2018/10/19/4cs- for-21st-century-learning/.

ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. (2562). [ออนไลน์]. ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence). [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563]. จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence

สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.). (2559). [ออนไลน์]. ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence: DQ) ที่จำเป็นสำหรับเด็กในศตวรรษที่ 21. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563]. จาก http://www.qlf.or.th/Home/Contents/1137

ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทของสื่อใหม่ในการสร้างค่านิยมทางสังคมและอัตลักษณ์ของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิต.