120 ปีธุรกิจภาพยนตร์ไทย: ข้อเสนอต่อรัฐและสังคมไทย
คำสำคัญ:
ภาพยนตร์, สังคมบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสังเคราะห์สภาพปัญหาของธุรกิจภาพยนตร์ไทย วิพากษ์แผนยุทธศาสตร์ ภาพยนตร์ และนำาเสนอทางออกต่อรัฐและสังคมไทย โดยใช้วิธีศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ โดยมีข้อ ค้นพบ ได้แก่ 1) ปัญหาที่ด�ารงอยู่มาตลอด 120 ปีของประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทย หรือปัญหาซ้ำซาก ได้แก่ ภาพยนตร์ไทยไม่เติบโตพัฒนาเท่าที่ควรและไม่สามารถแข่งขันกับหนังต่างประเทศได้ 2) หลังทศวรรษ 2540 พบว่าตลาดโรงฉายภาพยนตร์ถูกผูกขาดโดยสองกลุ่มทุนใหญ่ ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตหนังไทยอิสระ และ 3) ผลสำรวจรายได้ของอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ เติบโตอย่างก้าวกระโดดทุกปี ซึ่งสวนทางกับสภาพ ปัญหาของภาพยนตร์ไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วง พ.ศ.2557-2559
ท้ังน้ีมีข้อเสนอหลักให้รัฐและสังคมไทยพิจารณาโดยปรับทัศนะที่มีต่อ “ภาพยนตร์ไทย” โดยควรมุ่งแผน ยุทธศาสตร์ภาพยนตร์ที่อยู่บนวิสัยทัศน์ของการกระจายรายได้และเพิ่มโอกาสการทำธุรกิจแก่ผู้ผลิตหนังไทย อิสระ ศึกษาวิจัยว่ามีการผูกขาดธุรกิจหรือควรมีมาตรการกฎหมายใดหรือไม่เพื่อให้การแข่งขันมีความเป็น ธรรมและมีความเท่าเทียมกันทุกกลุ่ม รวมทั้ง ศึกษาว่ามูลค่ารายได้มหาศาลน้ันได้นำมาพัฒนาการศึกษา และศิลปะในสังคมไทยเพื่อยกระดับคนดูได้อย่างไร
References
กรมการสนเทศ กระทรวงเศรษฐการ. (2515). รายงานคณะกรรมการศึกษาเรื่องการสร้างภาพยนตร์ไทยและการนำภาพยนตร์ต่างประเทศเข้ามาฉายในประเทศไทย. ไม่ปรากฎสถานที่พิมพ์. [Information Department, Economy Ministry (1972). The Committee Report of Thai Film Production and Foreign films Import. N.p.]
กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ: กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ. [Culture Ministry (2016). Strategies of Film and Video Industry Support, the 3rd Phase (2017- 2021). Bangkok: Secretary of National Film and Video Committee.]
จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย. (2529). ธุรกิจภาพยนตร์ไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ ไทย. [Chamroenluck Thanawangnoi. (1986). Thai Film Business. Bangkok: Thai Film Producers Associate.]
ชญานิน ธนะสุขถาวร. (2554). ผลกระทบจากการขยายกิจการโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์ต่อระบบสาย หนังในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง สาขาวิชาการภาพยนตร์คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.[ChayaninThanasukthavorn(2011). The impact of multiplex theater expansion on provincial film distribution system in Thailand. Dissertation of Master Degree, Film and Photography Section, Film Department. Faculty of Communication Arts. Chulalongkorn University.]
รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม. (2542). ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการส่งเสริม อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ไทยประเภทบันเทิงเพื่อการส่งออก: กรณีศึกษา ผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์. กองทุนเพื่อการวิจัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Raksarn Wiwatsinudom. (1999). Problems, obstacles and ways to promote Thai feature film industry for export: a case study of producers and directors. Research Grant. Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.]
ทรงพล วงษ์คนดี. (2543). พัฒนาการของกระแสนิยมภาพยนตร์เรื่องบางระจันและ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดกระแสนิยมในสังคม. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Songphol Wongkhondee. (2000). The popularization of the Bangrajan movie and the factors leads to popularization in society. Dissertation of Communication Arts Master Degree. Chulalongkorn University].
รัตนา จักกะพาก. (2546). สภาพการณ์ของภาพยนตร์ไทยในอนาคต : ศึกษาวิเคราะห์จากทีมงานผู้สร้าง ผู้ชม และนักวิชาการด้านภาพยนตร์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Rattana Jakkapak. (2003). Situation of Thai film in the future: an analytical study from production crew, audience, film scholars. National Research Council of Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University.]
มงคล ปิยะทัสสกร. (2541). โครงสร้างธุรกิจภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนคณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.[Momgkol Piyatassakoyn (1998). The structure of foreign films business in Thailand (1988-1997).Dissertation of Master Degree, Mass Communication Department, Faculty of Communication Arts. Chulalongkorn University.]
ดวงกมล หนูแก้ว. (2548). ธุรกิจภาพยนตร์ไทย : กรณีศึกษาผู้สร้างภาพยนตร์ไทยขนาดใหญ่. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตคณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.[DuagkamolNukeaw(2005). Thai film business: a case study of large production companies. Dissertation of Economics Master Degree. Faculty of Economics, Chulalongkorn University.]
อุษา ไวยเจริญ. (2550). การควบรวมกิจการในธุรกิจโรงภาพยนตร์. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Usa Waicharoen (2007). The merger of movie theatres business. Dissertation of Economics Master Degree (Economics Business) Faculty of Economics, Thammasat University.]
ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. (2547). “บีโอไอยกเครื่องนโยบายส่งเสริมธุรกิจภาพยนตร์”. ในวารสารส่งเสริมการลงทุน. มิถุนายน 2547. [Yuthasak Kanasawad (2004). “BOI reengineer of film business promotion policies”. in Journal of Investment Promotion. (June 2004).]
สมชาย ศรีรักษ์. (2548). ภาพยนตร์ไทยและบริบททางสังคม พ.ศ.2510 – 2525. วิทยานิพนธ์อักษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Somchai Srirak. (2005). Thai films and their social context, 1967-1982. Dissertaion of Literature Master Degree. History Department. Faculty of Liberal Arts, Chulalongkorn University.]
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2561). 120 ปี ธุรกิจภาพยนตร์ไทย ในมิติประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและ สังคมไทย. กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสภาการพิมพ์. [Unaloam Chanrungmaneekul. (2018). 120 years of Thai film business: economic history and social dimensions. Bangkok: Samsopha Publishing.]
เว็บไซต์
ประชาไท. (2560). คนทำหนังไทยเรียกร้องจัดสัดส่วนโรงฉาย-แก้ปมผูกขาดธุรกิจโรงหนัง. เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2017/01/69598. วันที่ 20 มีนาคม 2560. [Prachatai. (2017). Thai Film Producers urged to set showing proportion for Thai films to cease monopoly of movie theatres business. Available from https://prachatai.com/journal/2017/01/69598. March 20, 2017.]
Editor (2018). “เทียบฟอร์มโรงหนัง Major กับ SF ใครดีกว่ากัน” ใน The Marketeer . เข้าถึงได้จาก https://marketeeronline.co/archives/16272. วันที่ 5 มกราคม 2562. [Editor (2018). “Comparing business potential between Major and SF, who is better”. in The Marketeer. Available from https://marketeeronline.co/archives/16272. January 5, 2019.]
Positioning (2016). เทียบฟอร์มแผนธุรกิจ “เมเจอร์-เอสเอฟ ปี2559. เข้าถึงได้จาก http://positioningmag.com/62526. วันที่ 7 กรกฎาคม 2560. [Positioning (2016). Comparing business plans ‘Major-SF in 2016. Available from http://positioningmag.com /62526. July 17, 2017].
สัมภาษณ์ (Interviews)
ชัยยงค์ มั่นฤทัย. (28 ตุลาคม 2561). รองกรรมการบริหารบริษัทโคลีเซี่ยมอินเตอร์กรุ๊ป จำกัด สายหนังภาคใต้. [Chaiyong Monruethai (October 28, 2018). Deputy Executive Director Coliseum Intergroup. Southern film sub-distributor.]
สุวัฒน์ ทองร่มโพธิ์. (20 เมษายน 2560). ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน). สายหนังภาคตะวันออก [Suwat Thongrompo. (April 20 2017). Chief executive of SF Corporations. Eastern film sub-distributors.].
สุรชัย เจียมรัตตัญญู. (16 มกราคม 2560). ผู้ช่วยผู้จัดการบริษัทเมโทรโปลิศ สายหนังแปดจังหวัดและภาคเหนือ. [Surachai Jiumrattanyu (January 16 2017). Assistant manager of Metropolis Company, Northern film sub-distributor.]