ความสัมพันธ์ของเสรีภาพสื่อมวลชนกับการคอร์รัปชันในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • วัชระ จิรฐิติกาลกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

เสรีภาพสื่อมวลชนไทย, การคอร์รัปชันในสังคมไทย

บทคัดย่อ

        การวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ของเสรีภาพสื่อมวลชนกับการคอร์รัปชันในสังคมไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเสรีภาพสื่อมวลชนไทย การคอร์รัปชันในสังคมไทยและทดสอบความสัมพันธ์ของเสรีภาพสื่อมวลชน กับการคอร์รัปชันในสังคมไทย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกข้อมูลจากเอกสาร ได้แก่ (1) การศึกษาเสรีภาพสื่อมวลชนและการคอร์รัปชันวิเคราะห์เอกสารจากดัชนีเสรีภาพสื่อมวลชนไทย ของฟรีดอมเฮาร์และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ปีพุทธศักราช 2538 ถึง 2560 ประกอบการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย (2) การทดสอบความสัมพันธ์ ของเสรีภาพสื่อมวลชนไทยกับการคอร์รัปชันใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โปรดักท์ โมเมนท์

        ผลการศึกษา พบว่าสื่อมวลชนไทยมีเสรีภาพบางส่วนมากที่สุด (ร้อยละ 56.522) รองลงมาไม่มีเสรีภาพ (ร้อยละ 26.087) และมีเสรีภาพ (ร้อยละ 17.391) ตามลำดับทั้งนี้ ค่าเฉลี่ยเสรีภาพสื่อมวลชนไทยมีค่าเท่ากับ 49.478 หมายความว่าในภาพรวมสื่อมวลชนไทยมีเสรีภาพบางส่วน ขณะที่การคอร์รัปชันอยู่ในระดับสูงทุก ปีที่ทำการศึกษา (ร้อยละ 100) มีคะแนนเฉลี่ย 3.408 หรือสังคมไทยภาพรวมมีการคอร์รัปชันในระดับสูง ส่วนผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เสรีภาพสื่อมวลชนไทยมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางกับการ คอร์รัปชันในสังคมไทยอย่างมีนัยสำคัญท่ีระดับ .01 (r = .599, p = .003) หรือเสรีภาพสื่อมวลชนมีความ สัมพันธ์กับการคอร์รัปชันแต่ไม่สามารถลดการคอร์รัปชันในสังคมไทย

References

คณะกรรมการ ป.ป.ช.. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564). นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. [National Anti-Corruption Commission. (2017). National Strategy on Corruption Prevention and Suppression in Phase 3 (2017-2021). Nonthaburi: Office of National Anti-Corruption Commission.]

เดือนเด่น นิคมบริรักษ์, ธิปไตย แสละวงศ์, วีรวัลย์ ไพบูรณ์จิตต์อารี, ธารทิพย์ ศรีสุวรรณเกศ, ฉัตร คำแสง, ศิลาภรณ์ ธูปเทียน, บุณวะรา สุมะโน และณัชพล ประดิษฐเพชรา. (2560). ประมวลองค์ความรู้ด้าน การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการลดคอร์รัปชัน. รายงานวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย. [Duenden Nikomburirak, Thipathai Saelawong, Weerawan Paiboonjitaree, Tarntip Srisuwangate, Chat Kumsang, Silaporn Tooptien, Boonwara Sumano and Nachapol Praditpechara. (2017). Compilation of knowledge in promoting good governance and reducing corruption. Research report. The Thailand Research Fund.]

นงค์นาถ ศรีสกุล ห่านวิไล. (2551). รูปแบบการคุกคามสื่อยุคใหม่กับผลกระทบต่อการทาหน้าที่ของสื่อมวลชน.รายงานการวิจัย.มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแหง่ ประเทศไทย.[NongnadSrisakunHanwilai. (2008). The forms of threats and theirs impacts on Thai media’s performances in modern era. Research report. Thai Press Development Foundation.]

ผาสุก พงษ์ไพจิตร, ยงยุทธ ไชยพงศ์ และธานี ชัยวัฒน์. (2557). คอร์รัปชันในระบบราชการไทย: การสำรวจทัศนคติ ประสบการณ์ของหัวหน้าครัวเรือน. รายงานวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. [Phasook Pongpaijit, Yuthpong Chaipong and Tani Chaiwat. (2014). Corruption in Thai bureaucratic system: The attitude and experience survey of the head of family. Research report. The Thailand Research Fund.]

พิชญ์ณิฐา พรรณศิลป์, ภักดี โพธิ์สิงห์ และสัญญา เคณาภูมิ. (2559). “การคอรัปชั่นในระบบราชการไทย: แนวทางการป้องกันและแก้ไข.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 4(2), หน้า 326-340. [Pitnitha Pansilp, Pakdee Phosing and Sanya Kenapoom. (2016). “Corruption in the Thai Bureaucracy: The Guidelines on Prevention and Solution.” The Journal of MCU Peace Studies, 4(2), PP.326-340.]

มนตรี จุ้ยม่วงศรี. (2558). พัฒนาการข่าวยอดเยี่ยมรางวัลมูลนิธิอิศรา อมันตกุลกับการกำหนดบทบาท และแนวทางในการรายงานข่าวเชิงสืบสวนเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชั่น. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. นิเทศศาสตร์. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. [Montri Juimuangsri. (2015). The development of the investigative news stories that received the best news reward from Isra Amantakul Foundation. Master of Arts. Faculty of Communication Arts. Dhurakij Pundit University.]

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.(2560).ผลสำรวจดัชนีสถานการณ์คอร์รัปชันไทย.รายงานวิจัย.มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. [The University of the Thai Chamber Commerce. (2017). Corruption Situation Index. Research report. UTCC.]

สังศิต พิริยะรังสรรค์, ศรัณย์ ธิติลักษณ์ และนิดาวรรณ เพราะสุนทร. (2558). การต่อต้านการคอร์รัปชัน: มาตรการการควบคุมการเคลื่อนไหวของเงิน. รายงานการวิจัย. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. [Sungsidh Piriyarangsan, Sarun Thitiluck and Nidawan Pawcsuntorn. (2015). Anti-Corruption: Monetary Flow Control Measures. Research report. The Secretariat of the Senate.]

สุชาดา จักรพิสุทธิ์. (2550). แนวทางการทำให้เกิดการเสนอข่าวเชิงสืบสวนในสื่อหนังสือพิมพ์. รายงาน วิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [Suchada Jakpisuth. (2007). An exploration of ways and means to encourage investigative reports in Thai journalism. Research report. The Thailand Research Fund.]

สุรชัย เลาคำ. (2553). การวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการแสดงบทบาทสุนัขเฝ้าบ้านของหนังสือพิมพ. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต. สื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Surachai Laokham. (2010). The Analysis of Facrtor Affecting Pressmen Watchdog Role. Master of Arts. Faculty of Journalism and Mass Communication. Thammasat University.]

อมรรัตน์ มหิทธิรุกข์. (2546). บทบาทของหนังสือพิมพ์ต่อการเสนอข่าวคอร์รัปชั่นในหน่วยงานของรัฐ. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต.การบริหารสื่อสารมวลชน.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Amornrat Mahitthiruk. (2003). The role of the press in covering stage agencies’ corruption. Master of Arts. Faculty of Journalism and Mass Communication. Thammasat University.]

Altschull, H. J. (1995). Agents of Power: The Media and Public Policy (2nd ed.). New York: Longman Publishers.

Annan, K. (2004). UNITED NATIONS CONVENTION AGAINST CORRUPTION. Vienna: UNITED NATIONS OFFICE ON DRUGS AND CRIME.

Arndt, C., & Oman, C. (2006). Uses and Abuses of Governance Indicators. Paris: OECD Publishing.

Becker, L. B., & Vlad, T. (2015). Methodological Issues in Measuring Media Freedom In A Global Context. Research Report. International Communication Association.

Binhadab, N., Breen, M., & Gillanders, R. (2018). The Role of a Free Press in Combating Business Corruption. Dublin: Dublin City University.

Camaj, L. (2012). “The media’s role in fighting corruption: Media effects on governmental accountability.” The International Journal of Press/Politics, 18(1), PP.21–42.

World Bank Group. (1997). Helping Countries Combat Corruption: The Role of the World Bank. Washington DC: The World Bank.

Giannone, D., & De Frutos, R. (2016). “Measuring Freedom of Information: Issues and Opportunities from an Expert Survey.” International Journal of Communication, 10, PP.589–619.

Guseva, M., Nakaa, M., Novel, A.S., Pekkala, K., Souberou, B., & Stouli., S. (2008). Press freedom and development. France: UNESCO.

Heywood, P. (1997). “Political Corruption: Problems and Perspectives.” Political Studies, 45(3), PP.417-435.

Kovach, B., & Rosenstiel, T. (2007). The elements of journalism: what newspeople should know and the public should expect. New York: Three Rivers Press.

McQuail, D. (2013). Journalism and Society. London: Sage Publications.

Mphirime, B.G. (2015). The Influence of Corruption on Psychological Capital: The Case of a Large Government in the Motheo District. FREE STATE: Central University of Technology.

Nixon, R. (1960). “Freedom in the world’s press: A fresh appraisal with new data.” Journalism Quarterly, 42(1), PP.9–14.

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). (2008). Corruption: A GLOSSARY OF INTERNATIONAL STANDARDS IN CRIMINAL LAW. Paris: OECD Publishing.

Siebert, F. S., Peterson, T., & Schramm, W. (1973). Four Theories of The Press (8th ed.). Urbana: University of Illinois press.

Stapenhurst, R. (2000). The media’s role in curbing corruption. Washington DC: World Bank Institute.

Starke, C., Naab, T. K., & Scherer, H. (2016). “Free to Expose Corruption: The Impact of Media Freedom, Internet Access, and Governmental Online Service Delivery on Corruption.” International Journal of Communication, 10(2016), PP.4702–4722.

Steien, S. (2017). The Relationship between Press Freedom and Corruption: The Perception of Journalism Students. Goteborg: Nordicom.

Tanzi, V. (1994). Corruption, Governmental Activities and Markets. Washington DC: International Monetary Fund.

Wolfensohn, J. D. (2004). VOICE FOR THE WORLD’S POOR: Selected Speeches and Writings of World Bank President James D. Wolfensohn 1995-2005. Washington DC: The International Bank for Reconstruction and Development.

เว็บไซต์

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2558). ประวัติและความเป็นมา. วันที่สืบค้น 24 มิถุนายน 2562 เข้าถึงได้จาก https://www.nacc.go.th/ [Office of the National Anti- Corruption Commission. (2015). The History of Thai Corruption. June 24, 2019, Retrieved from https://www.nacc.go.th/]

Bill of Rights Institute. (2019). First Amendment: Freedom of Assembly (1791). June 1, 2019, Retrieved from http://billofrightsinstitute.org

Financial Times. (2019). Thailand remains the sick man of south-east Asia. Oct 13, 2019, Retrieved from https://www.ft.com/

Freedom House. (2010). Freedom House. June 1, 2019, Retrieved from http://www.freedomhouse.org

Freedom House. (2017). Freedom of the Press 2017 Methodology. June 1, 2019, Retrieved from https://freedomhouse.org/report/freedom-press-2017-methodology

Reporters without Borders. (2013). 2013 World Press Freedom Index-Methodology. June 1, 2019, Retrieved from http://en.rsf.org/IMG/pdf/2013_wpfi_methodology.pdf

The European Commission. (2019). Corruption. June 1, 2019, Retrieved from https://ec.europa.eu/

Transparency International. (2018). Methodology. June 1, 2019, Retrieved from https://www.transparency.org/cpi2018

United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC). (2009). Corruption. June 1, 2019, Retrieved from https://www.unodc.org/unodc/en/data-and-analysis/corruption.html

United Nations. (2015). Universal Declaration of Human Rights 1948. June 1, 2019, Retrieved from https://www.un.org/en/udhrbook/pdf/udhr_booklet_en_web.pdf

Yale Law School. (2008). Declaration of the Rights of Man – 1789. June 1, 2019, Retrieved from https://avalon.law.yale.edu/18th_century/rightsof.asp

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-01