ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับความสำเร็จในการสร้างและสื่อสารตราสินค้าบุคคลของ ผู้มีอิทธิพลออนไลน์ไทยบนเฟซบุ๊กแฟนเพจ

ผู้แต่ง

  • ภัสสร ปราชญากูล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เอกลักษณ์ตราสินค้า, การสื่อสารตราสินค้า, ตราสินค้าบุคคล, ผู้มีอิทธิพลออนไลน์, เฟซบุ๊กแฟนเพจ

บทคัดย่อ

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการสร้างและสื่อสารตราสินค้าบุคคล ของผู้มีอิทธิพลออนไลน์ไทยบนเฟซบุ๊กแฟนเพจ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้มีบทบาทในการกำหนดเอกลักษณ์และสื่อสารตราสินค้าบุคคลของเฟซบุ๊กแฟนเพจที่ประสบ ความสำเร็จในแง่จำนวนผู้ติดตามท้ังสิ้น 5 เพจ และสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญจากองค์กรเกี่ยวกับการสื่อสาร ตราสินค้าและสื่อดิจิทัล ร่วมกับการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเนื้อหาบนเฟซบุ๊กแฟนเพจ ของทั้ง 5 เพจย้อนหลังเป็นเวลา 2 เดือน คือ เดือนมีนาคม และ เมษายน พ.ศ. 2561 ผลการวิจัยพบว่า ความสำเร็จในการสร้างและสื่อสารตราสินค้าบุคคลของผู้มีอิทธิพลออนไลน์ไทยบนเฟซบุ๊กแฟนเพจนั้นมาจากปัจจัย 3 ประการ คือ การสร้างเอกลักษณ์ตราสินค้าท่ีชัดเจน การสื่อสารเอกลักษณ์ตราสินค้าบุคคลอย่างต่อเนื่อง และความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการข้อมูลบนเฟซบุ๊กแฟนเพจของผู้ดูแลเพจ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2556). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Kanjana Kaewthep. (2013). Mass Communication : Theory and Ways of Study. Bangkok: Chulalongkorn Book.]

กิติยา สุริวรรณ, พิชามน พวงสุวรรณ และ อุรพี จุลิมาศาสตร์ (2559). “ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ทรงอิทธิพลทางความคิด ผู้บริโภค และตราสินค้า.” วารสารการสื่อสารและการจัดการนิด้า, 2: 79-96 [Kitiya Suriwan, Pichamon Puangsuwan and Urapee Chulimasad (2016). “The Relationship of Influencer, Customer and Brand.” Journal of Communication and Management NIDA, 2: 79-96.]

วิทวัส ชัยปราณี. (2549). สร้างแบรนด์อย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: มติชน

Aaker,D.A. (1996). Building a strong Brand. New York, NY: The Free Press.

De Chernatony (2010). From brand vision to brand evaluation: The strategic process of growing and strengthening brands. Amsterdam: Butterworth-Heinemann.

Duncan, T. (2005). Principles of advertising & IMC. Newyork,NY: McGraw-Hill.

Eisend, Martin & Stokburger-Sauer, Nicola. (2013). Brand personality: A meta-analytic review of antecedents and consequences. Marketing Letters. 24. 10.1007/s11002-013-9232-7.

Kapferer, J.N., (2004). The New Strategic Brand Management. Creating and Sustaining Brand Equity Long Term. Kogan Page, London

Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). A framework for marketing management (4th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson/Prentice-Hall.

Montoya, P.& Vandehey, T. (2009). The Brand called you. New York: McGrawHill.

Machaz, H.-A., & Shokoofh, K. (2016). “Personal branding: An essential choice?.” Journal of Multidisciplinary Research, 8(2), 65-70.

Shaker & Hafiz. (2014). Personal Branding in Online Platform. Global Disclosure of Economics and Business, 3(3) /2014

Schiffman, L. G., & Kanuk. L. L. (2004). Consumer behavior.(8th ed.). New Jersey: Pearson Education International.

Shepherd, I.D.H. (2005). “From cattle and coke to Charlie: Meeting the challenge of self marketing and personal branding.” Journal of Marketing Management. 21: 589-606

เว็บไซต์

Aaker, J. (1997), “Dimensions of Brand Personality”. Retrieved from https://ssrn.com/abstract=945432 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.945432

Bural, Kerry. (2010). “Ministry Branding DNA Convergence- Core Values, Competencies and Passions”. Retrieved from http://ministrymarketingcoach.com/2009/12/31/ministry-branding-dna-convergence%E2%80%94 core-values-competencies-and-passions/

DAAT (2017). “เผยข้อมูลผู้ใช้อินเทอร์เน็ตของไทย ไตรมาส 1 ประจำปี 2559”. Retrieved from http://www.daat.in.th/index.php/daat-internet/

ETDA (2017). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560. Retrieved from https://www.etda.or.th/publishing-detail/thailand-internet-user-profile-2017.html

Influencermarketinghub (2018). “What is an Influencer?”. Retrieved From https://influencermarketinghub.com/what-is-an-influencer/

Nextempire.(2018).“จากวงการ Influencer Marketing สู่เทรนด์การตลาดออนไลน์มาแรงที่แบรนด์ ต้องให้ความสนใจ!”. สืบค้นจาก https://nextempire.co/stories/next-business/ทำความรู้จัก-influencer-marketing-เทรนด์การตลาดมาแรงแห่งปี-2018/1277#jgfb2ate19

Peters, T. (1997), ‘The brand called you’. Retrieved from http://www.fastcompany.com/28905/brand-called-you

Social media examiner. (2015). “Marketers Embrace Influencer Marketing: New Research”. Retrieved from http://www.socialmediaexaminer.com/marketers-embrace-influencer-marketing-new-research/

Thumbsup. (2016). “Influencer Marketing แท้จริงคืออะไร?”. สืบค้นจาก http://thumbsup.in.th/2016/02/influencer-marketing-2/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-01