นวัตกรรมสินค้าภูมิปัญญาไทยเชิงสร้างสรรค์กับการตลาดเชิง สร้างสรรค์ในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • สุภารักษ์ จูตระกูล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

การตลาด, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

        บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่าสินค้าภูมิปัญญาไทยมีความสำคัญต่อการขับ เคลื่อนทางเศรษฐกิจให้กับชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างยิ่งโดยเป็นการกระจายราย ได้เข้าสู่ชุมชนและท้องถินิได้อย่างทั่วถึงทำให้ชุมชนมีการพึ่งพาตนเองได้อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการสืบสานประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านทุนปัญญาทุนวัฒนธรรม และ สร้างความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง ผู้ประกอบการในยุคดิจิทัลจึงต้องสร้าง “ความแตกต่าง” ให้กับ ผลิตภัณฑ์เชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย เพื่อพัฒนาให้สอดคล้องไปกับเมือง ชุมชน สังคมในโลกสมัยใหม่ ด้วยการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในชุมชนให้เป็น “นวัตกรรม” เพื่อ สร้างคุณค่า มูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและรองรับต่อวิถีชีวิตการบริโภคของเจเนอเรชั่นใหม่ได้ วิธีการท่ีจะช่วย เพิ่มศักยภาพทางธุรกิจและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับของตลาดต้องอาศัยพันธมิตรทางการตลาด ในห่วงโซ่อุปทาน ต้ังแต่ต้นน้ำสู่ปลายน้ำเพื่อให้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยก้าวสู่อุตสาหกรรมเชิง สร้างสรรค์ในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ มีการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีดิจิทัลในเชิงธุรกิจเป็นช่องทางในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า รวมถึงการทำกลยุทธ์ทางการ ตลาดในรูปแบบใหม่โดยให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในออกแบบและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพื่อพัฒนาสินค้าภูมิปัญญา ไทยให้เป็นนวัตกรรม มีการสื่อสารการตลาดเพื่อให้เข้าถึงผู้บริโภคในยุคดิจิทัลบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ เช่น YouTube, Facebook, Instagram และ Twitter โดยใส่ความคิดสร้างสรรค์ สร้างการตลาดเชิงเล่าเรื่อง โดยนำเรื่องราว เนิ้อหาที่เป็นเอกลักษณ์มาสร้างความโดดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย เพื่อขับเคลื่อน เข้าสู่เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม

References

ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2554). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ทุนวัฒนธรรมและโอกาสทางธุรกิจ .วารสารนักบริหาร. 31(1): 32-37. [Krairoek Pinkaeo. (2011). Creative economy, cultural capital and business opportunity. Executive journal. 31(1): 32-37.]

เสรี วงษ์มณฑา. (2560). “การตลาด 4.0 ในบริบทประเทศไทย 4.0” วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. 8 (15): 1-16. [Seri Wongmonta. (2017). “Marketing 4.0 in the Context of Thailand 4.0.” Journal of Economics and Public Policy ECON-SWU. 8 (15): 1-16.]

สมพงษ์ อำนวยเงินตรา. (2559). “การสร้างมูลค่าเพิ่มธุรกิจโรงแรมด้วยกลยุทธ์ Blue Ocean.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร.36(1):1-23.[Sompong Amnuay-ngerntra (2016).“Value Added Creation in Hotel Business with Blue Ocean Strategy.” Silpakorn University Journal.36(1): 1-23.]

Kim, W. C. and Mauborgne, R. (2005b). Blue Ocean Strategy: From Theory to Practice. California Management Review, 47(3): 103-121.

เว็บไซต์

พงศ์ศรันย์ พลศรีเลิศ. (2555). ให้ลูกค้ามีส่วนร่วมเป็นพันธมิตรเชิงกลยุทธ์. เข้าถึงได้จาก : http://phongzahrun.wordpress.com/2012/02/06, 25 พฤษภาคม 2562. [Phongzahrun Pollsrilert. (2012). Strategic Alliance with Customer. Retrieved from http://phongzahrun.wordpress.com/2012/02/06, May 25, 2019.]

พงศ์ศรันย์ พลศรีเลิศ. (2557). โมดิฟายธุรกิจ ด้วยแนวคิด Blue Ocean Strategy. เข้าถึงได้จาก : https://phongzahrun.wordpress.com/2014/03/17/โมดิฟายธุรกิจ-ด้วยแนวคิ/, 18 กันยายน 2562. [Phongzahrun Pollsrilert. (2014). Blue Ocean Strategy. Retrieved from https://phongzahrun.wordpress.com/2014/03/17/โมดิฟายธุรกิจ-ด้วยแนวคิ/,18 September, 2019.]

พสุ เดชะรินทร์. (2550). กลยุทธ์น่านน้ำสีคราม (Blue Ocean Strategy: BOS). กรุงเทพธุรกิจ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.sara-dd.com/index.php?option=com_content&view=article&id=357:blue-ocean-strategy-&catid=25:the-project&Itemid=72, 25 กรกฎาคม 2562. [Pasu Decharin. (2007). Blue Ocean Strategy: BOS. Retrieved from http://www.sara-dd.com/index.php?option=com_content&view=article&id=357:blue-ocean-strategy-&catid=25:the-project&Itemid=72, 25 July, 2019.]

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC). (2552). เอกสารประกอบการสัมมนา Creative Thailand: สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์. ตอน “ทางรอด... ทางเลือก. เข้าถึงได้จาก : http://www.tcdc.or.th/upload/downloads/facing_challenges09.pdf, 21 มีนาคม 2562. [Thailand Creative and Design Center (TCDC) (2009). Creative Thailand “Facing the Challenges”. Retrieved from http://www.tcdc.or.th/upload/downloads/facing_challenges09.pdf, March 21, 2019.]

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564). เข้าถึงได้จาก : http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422, 9 พฤษภาคม 2562. [Office of the National Economic and Social Development Board Office of the Prime Minister Bangkok, Thailand. (2017). The Twelfth National Economic and Social Development Plan (2017-2021). Retrieved from

http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422, May 9, 2019.]

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561-2680). เข้าถึงได้จาก : https://www.dga.or.th/upload/download/file_9fa5ae40143e13a659403388d226efd8.pdf, 2 มีนาคม 2562. [Office of the National Digital Economy and Society Commission, Ministry of Digital Economy and Society. (2016). National Digital Economy and Society Development Plan and Policy. Retrieved from https://www.dga.or.th/upload/download/file_9fa5ae40143e13a659403388d226efd8.pdf, March 2, 2019.]

หัตถกรรมกระจูดวรรณี. (2561). จากเสื่อกระจูดผืนเดียว พัฒนาสู่ตลาดโลก... พัทลุงทำได้. เข้าถึงได้จาก : https://www.kasetkaoklai.com/home/2018/08/จากเสื่อกระจูดผืนเดียว, 5 สิงหาคม 2562. [Varni Southern Wickery. (2018). Retrieved from https://www.kasetkaoklai.com/home/2018/08/จากเสื่อกระจูดผืนเดียว, August 5, 2019.]

อินดิโก้ คอลเลคชั่น. (2561). “Design Thinking” เบื้องหลังวิธีคิด ผลักดัน “สีย้อมคราม” ต้นตำรับภูมิปัญญาไทย สู่เวทีโลก. เข้าถึงได้จาก : https://www.brandbuffet.in.th/2018/05/design-thinking-indigo-collection-by-king-power-to-leicester-city/idigo-clients/, 25 กรกฎาคม 2562. [Indigo Collection. (2018). “Design Thinking”. Retrieved from https://www.brandbuffet.in.th/2018/05/design-thinking-indigo-collection-by-king-power-to-leicester-city/idigo-clients/, July 25, 2019.]

อลิสรา คูประสิทธิ์. (2560). กระบวนการสร้างนวัตกรรม. เข้าถึงได้จาก : https://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=3574, 8 กรกฎาคม 2562, [Alissara Kuprasit. (2017). The process of innovation. Retrieved from https://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=3574, July 8, 2019]

Blue Ocean Strategy. (2013). Everything you wanted to know about Blue Ocean strategy. Retrieved from https://www.slideshare.net/pavan123/blue-ocean-strategy-part-2-29440808, August 5, 2019.

Gini Dietrich. (2014). Spin Sucks: Communication and Reputation Management in the Digital Age. Retrieved from https://www.brandpoint.com/blog/earned-owned-paid-media/, July 22, 2019.

Marketing Oops. (2562). 3 จุดอ่อน “OTOP ไทย. เข้าถึงได้จาก : https://www.marketingoops.com/reports/industry-insight/decoding-the-success-of-thai-local-brand/, 22 กันยายน 2562. [Marketing Oops. (2019). 3 Weekness of One Tambon One Product (OTOP). Retrieved from https://www.marketingoops.com/reports/industry-insight/decoding-the-success-of-thai-local-brand/, 22 September 2019.]

Rafiq Elmansy. (2015). Implementing Open Innovation to Drive Creativity inside Companies. Retrieved from https://www.designorate.com/open-innovation-to-drive-creativity/, 9 September 2019.

Techsauce-team. (2560). นวัตกรรมแบบเปิด และเศรษฐกิจไทย. เข้าถึงได้จาก : https://techsauce.co/pr-news/get-to-know-open-innovation/, 2 สิงหาคม 2562. [Techsauce-team. (2017). Open Innovation and Thai Economy. Retrieved from https://techsauce.co/pr-news/get-to-know-open-innovation/, 2 August 2562.]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-01