การเปิดรับสื่อและการแสวงหาความรู้ของนักศึกษาสื่อสารมวลชน

ผู้แต่ง

  • อัญชุลี วงษ์บุญงาม คณะเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

การเปิดรับสื่อ, การแสวงหาความรู้

บทคัดย่อ

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อและพฤติกรรมการแสวงหาความรู้ของนักศึกษา สื่อสารมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร รวมถึงปัญหาและอุปสรรคของการแสวงหาความรู้ ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 12 คน และวิจัยเชิงสำรวจกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 420 คน

        ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาสื่อสารมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์เพื่อติดตาม ข่าวสาร สถานการณ์ปัจจุบันมากท่ีสุด และสนทนาข่าวสาร สถานการณ์ปัจจุบันกับเพื่อนมากที่สุด แต่เช่ือ ถือข้อมูลจากสื่อโทรทัศน์มากท่ีสุด การเปิดรับสื่อวันจันทร์-วันศุกร์พบว่าเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด รองลงมาคือสื่อบุคคล และเว็บไซต์ ส่วนวันเสาร์-วันอาทิตย์เปิดรับสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด รองลงมาคือ โทรทัศน์และภาพยนตร์ โดยเปิดรับหนังสือพิมพ์น้อยที่สุดในทุกวัน ด้านการแสวงหาความรู้พบว่า แสวงหา ความรู้จากสื่อต่างๆ อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งแสวงหาจากสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด รองลงมาคือสื่ออิเลก ทรอนิกส์ และเว็บไซต์ส่วนวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการเรียนจะใช้รูปแบบการเรียนกับผู้สอนมากท่ีสุด รองลงมาคือกิจกรรมออนไลน์ และการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยปัญหาและอุปสรรคของการแสวงหาความรู้คือ การคีย์คำสำคัญ การถูกปิดก้ันข้อมูล การบิดเบือนข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสัญญาณอินเตอร์เน็ต

References

กนกพร ศักดิ์อุดมขจร. (2543). การแสวงหาข่าวสาร การใช้ประโยชน์และพฤติกรรมการบริหารการเงินบุคคลของประชาชนกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. นิเทศศาสตรพัฒนาการ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.(KanokpornSak-Udomkajorn.(2000).Financial Information Seeking, Uses and Personal Financial Management of Bangkok Residents. Master of Arts. Development Communication. Chulalongkorn University.)

ดนุพล อุ่นจินดามณี. (2545). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการปฏิรูป อุดมศึกษาของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วารสาร ศาสตรมหาบัณฑิต. สื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (Danupon Aunjindamanee. (2002). Media Exposure, Knowledge and Attitude of University Students in Bangkok in higher Education Reform. Master of Arts. Mass Communication. Thammasat University.)

ดวงพร หมวดมณี. (2553). การแสวงหาข้อมูลข่าวสารและความคาดหวังของผู้ลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต. การจัดการการสื่อสารองค์กร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (Tuangporn Muedmanee. (2010). Information Seeking and Expectations of the Internet Trading Investors. Master of Arts. Corporate Communication Management. Thammasat University.)

นฤมล เพิ่มชีวิตและพัชนี เชยจรรยา. (2553). “การแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์และความเชื่อถือ ในข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำงาน.” วารสารการ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา. 3 (1). หน้า 99-121. (Nareumon Peumchewit and Patchanee Cheuyjanya. (2010). “Information Seeking, Uses and Credibility of Traveling Information from Online Consumer-generated Media of Working People.” Journal of Public Relations and Advertising. 3 (1) PP. 99-121.)

วชิราภรณ์ คลังธนบูรณ์. (2547). “พฤติกรรมการแสวงหาสารนิเทศของอาจารย์สาขาวิชา ประวัติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน.” วารสารบรรณารักษศาสตร์. 24 (2)

หน้า 48-63. (Wachiraporn Klungthananoon. (2004). Information Seeking Behavior of History Faculty Members in State and Private Universities. Library Science Journal. 24 (2) PP.48-63)

วรภูริ มูลสิน. (2556). Postmodern แนวคิดหลังทันสมัย. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด. (Worrapuri Moonsin.(2013). Postmodern. Ubonratchathani: Yongsawasdi Intergroup Printing)

ศิริพร นันตาคำ. (2551). พฤติกรรมการเปิดรับสื่อในการตัดสินใจซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าของ ผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. การบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (Siriporn Nantakam. (2008). Media Exposure Behavior of Consumers’ decision making Regarding Electric Appliance Purchases in Mueang District, Chiang Mai. Master of B.A. Business Administration. Chiang Mai University.)

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). บทสรุปผู้บริหาร พฤติกรรมการบริโภคสื่อ (Media Consumption) ของไทย. เอกสารเผยแพร่. (Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission. (n.d.) Executive Summary Thai Media Consumption. Publication)

อภิภา ปรัชญพฤทธิ์. (2554). หลังสมัยใหม่นิยมและการอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ส.เจริญการพิมพ์. (Apipa Pachayapreuti. (2011). Postmodernism and Higher Education. Bangkok: Sorjareun Printing.)

อัญชุลี วงษ์บุญงามและดารณี ธัญญสิริ. (2554). การเปิดรับข่าวสารทางการเมือง ความรู้ และ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (Anchulee Wongboonngam and Darani Thanyasiri. (2011). Political Information Exposure, Knowledge and Political Participation of Rajamangala University of Technology’s Students in Bangkok. Research Report. Rajamangala University of Technology Pra Nakhon.)

อารีรัตน์ ชนะขวัญ. (2551). การยอมรับข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตของนิสิต นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (Areerat Chanakaun. (2008). The Acceptance by University Students in Bangkok of Educational Information via the Internet. Master of Arts. Mass Communication Technology. Ramkhamhaeng University.)

Allan, B. and Cook, J. (2003). Study Skills Handbook. 2nd Ed. United Kingdom: University of Hull.

Becker, S.L. (1983). Discovering Mass Communication. Illinois: Scott Foresman and Company.

เว็บไซต์

ฉลองศักดิ์ สุขใจธรรม. (2558). ทีวีดิจิตอล: จะเหลือ “ตัวจริง” กี่ราย. สืบค้นวันที่ 16 ธันวาคม 2559,เข้าถึงได้จาก http://www.marketeer.co.th. (Chalongsak Sukjaitham. (2015). Digital TV: How many Real Entrepreneur Remain. Retrieved from http://www.marketeer.co.th. December 16, 2016)

พีร์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์. (2559). สถานการณ์สื่อมวลชนในโลกยุคใหม่. สืบค้นวันที่ 12 มีนาคม 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.siamrath.co.th/n/1649. (Pee Pongpipattanapan. (2016). Mass Media Situation in the Modern World. Retrieved from http://www.siamrath.co.th/n/1649. March 12, 2018,)

มานะ ตรีรยาภิวัฒน์. (2553). เมื่อนักข่าว “ดราม่า” พัฒนาสู่สายพันธุ์ใหม่แบบ Cinematic Journalism และ Emo-Journalism. สืบค้นวันที่ 7 มีนาคม 2561. เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.nationtv.tv/blog. (Mana Trirayapiwat. (2010). When Reporter was Dramatics, Come to New Cinematic Journalism and Emo-Journalism. Retrieved from http://www.oknation.nationtv.tv/blog. March 7, 2018,)

วราภรณ์ สามโกเศศ. (2559). รู้จัก Disruptive Technologies. สืบค้นวันที่ 1 มกราคม 2661, เข้าถึงได้จาก http://www.bangkokbiznews.com. (Waraporn Samgosase. (2016). Get to Know Disruptive Technologies. Retrieved from http://www.bangkokbiznews.com. January 1, 2018 )

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). ความท้าทายแห่งศตวรรษที่ 21 ของพลเมืองดิจิทัล. สืบค้นวันที่ 31 ธันวาคม 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.the101.world/digital-challenges. (Worapoj Wongkijrungreung. (2018). The 21st Century’s Challenges of Digital Citizen. Retrieved from http://www.the101.world/digital-challenges. December 31, 2018,)

สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยและสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย. (2557). เสรีภาพ... บนความรับผิดชอบ. เอกสารแถลงการณ์. วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก สืบค้น วันที่ 13 มีนาคม 2561, เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttp://www.tja.or.th/index.php?option=com.(ThaiJournalistsAssociationandThai Broadcast Journalists Association. (2014). Freedom...on Responsibility. Statement. World Press Freedom Day, Retrieved from http://www.tja.or.th/index.php?option=com. March 13, 2018,)

สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย. (2560). ควบคุม คุกคาม คลุกคลาน. สืบค้น 7 มีนาคม 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.thaipbs.or.th./content/268923. (Thai Journalists Association. (2017). Control Threat Fall. Retrieved from http://www.thaipbs.or.th./content/268923. March 7, 2018, )

สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์. (2562). เสพสื่อแบบไหน ให้รู้ทันโลก. คลิปความรู้. สถาบันวิจัยเพื่อการ พฒันาประเทศไทย.วันที่ 28 มีนาคม 2562. (Somkiat Tangkijwanich.(2019).Which Media do you Know about the World. VDO clip. Thailand Development Research Institute. March 28, 2019.)

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2559). 15 ธันวาคม 2559, เข้าถึงได้จาก http://broadcast.nbtc.go.th. (Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission. (2016). Retrieved from http://broadcast.nbtc.go.th. December 15, 2016)

Brandbuffe. (2561). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก ไทยเสพติดเน็ตมากที่สุดในโลก กรุงเทพเมืองผู้ใช้ facebook สูงสุด. สืบค้น 20 มีนาคม 2561, เข้าถึงได้จาก https://www.brandbuffet.in.th. (Brandbuffe. (2018). Statistical for the World’s Digital Users. Thailand is the Most in the World Time Spent Using the Internet and Bangkok Population is the Most Facebook Using. Retrieved from https://www.brandbuffet.in.th. March 20, 2018)

Kovach B. and Rosenstiel T. (2007). The Elements of Journalism. March 13, 2018, Retrieved from http://www.americanpressinstitute.org.

สัมภาษณ์

จุมพล รอดคำดี. (2561). บรรยายพิเศษ “แนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนนิเทศศาสตร์.”มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.วันที่ 24 มกราคม 2561.(Jumpol Rodcamdee.(2018). How to Learning Development for Mass Communication. Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. January 24, 2018.)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-09-01