การสื่อสารภาพลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลชลบุรี เอฟซี

ผู้แต่ง

  • อรรถญา พิกุลพารุ่งโรจน์ วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

การสื่อสาร, ภาพลักษณ์, สโมสรฟุตบอล

บทคัดย่อ

        งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารภาพลักษณ์ของสโมสรชลบุรี เอฟซี ในทัศนะของผู้ผลิตสื่อและผู้ติดตามสโมสรชลบุรี เอฟซี โดยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ จากการสัมภาษณ์ เชิงลึกจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายสื่อสโมสรชลบุรี เอฟซี และจากการการวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการวิจัยเชิงสำรวจ จากการใช้แบบสอบถามออนไลน์ ในการเก็บข้อมูลจากผู้ติดตามสโมสรชลบุรี เอฟซี จำนวน 400 คน ผลการวิจัย พบว่า

        สโมสรชลบุรี เอฟซี มีการใช้กลยุทธ์ในการสื่อสาร คือความเป็นครอบครัวกระบวนการสื่อสารที่ครบถ้วน ทั้งผู้ส่งสาร สาร ช่องทาง ผู้รับสาร และการตอบกลับ โดยผู้บริหารสโมสร ตัวแทนสโมสร ผู้รับผิดชอบด้านสื่อ และแฟนคลับ ทุกคนมีบทบาทในการสื่อสาร เนื้อหาที่นำเสนอส่งไปยังผู้รับสาร จะเป็นเน้ือหาที่สร้างสรรค์ เชิงบวก สร้างความไว้ใจ สร้างภาพลักษณ์ให้กับสโมสร และสร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับสโมสร ช่อง ทางในการสื่อสารกับผู้รับสาร หลักคือ เพจเฟซบุ๊ก และเว็บไซต์สโมสร ซึ่งต้องปรับไปตามความต้องการเพื่อ ตอบสนองการใช้งานให้กับผู้ติดตามมากที่สุดการตอบกลับผู้ติดตาม ทางสโมสรต้องให้ความสำคัญและต้อง ตอบข้อสงสัยให้ทันถ่วงทีกับความต้องการ สิ่งที่ทางสโมสรชลบุรี เอฟซี สื่อสารไปยังแฟนคลับ คือ สโมสร ฟุตบอลสำหรับคนชลบุรี ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารผ่านสื่อทุกประเภท รวมถึงกิจกรรมที่ทำให้แฟนคลับมีส่วน ร่วมและร่วมผลักดันสโมสรให้ประสบความสำเร็จ

        ผตู้ ดิ ตามสโมสรชลบรุ ี เอฟซี สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย อายุ 30-40 ปี ประกอบอาชพี พนกั งานบรษิ ทั เอกชน/ ข้าราชการ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 20,001 บาทขึ้นไป ภูมิล�าเนาอยู่ในจังหวัดชลบุรีการสื่อสารภาพ ลกั ษณข์ องสโมสรชลบรุ ี เอฟซี พบวา่ ดา้ นผลติ ภณั ฑม์ คี วามประทบั ใจในสไตลก์ ารเลน่ ของนกั กฬี าในสโมสร ด้านสัญลักษณ์ที่เป็นรูปธรรม พบว่า สโมสรมีการเชื่อมโยงสีของสโมสร ตราสโมสรกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อสร้าง ความจดจ�า และมีการสร้างวัฒนธรรมการรักบ้านเกิดสื่อสารมายังแฟนคลับผ่านทาง สื่อและกิจกรรม ของสโมสรอย่างต่อเนื่อง และด้านความภักดีต่อสโมสรฟุตบอล พบว่า มีความรู้สึกเชื่อมั่นว่าสโมสรฟุตบอล สามารถท�าตามความคาดหวังได้

References

ใจทิพย์ ศรีประการเพ็ชร. (2538). การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และประสิทธิผลการสร้างภาพลักษณ์ของโครงการดาวเทียมไทยคม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ภาควิชาการ สื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Jaitip Sriprakaipetch. (1995). A study of public relations strategies and its effectiveness in image building of Thaicom satellite. Thesis, Chulalongkorn University.]

ณัฐสุพงศ์ สุขโสต. (2548). บทบาทของการสื่อสารกับกระบวนการสร้างและสืบทอดวัฒนธรรม “แฟนบอล”ในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Nutsupong Suksote .(2005). Communication and the construction of football fan culture in Thai Society. Thesis, Thammasat University.]

ดวงพร บุญกมลสวัสดิ์ . (2549). พฤติกรรมการชมฟุตบอลต่างประเทศผ่านสื่อโทรทัศน์ของ แฟนบอลชาวไทย.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Doungporn Boonkamonsavad. (2006). Thai soccer fan viewer’s manners. Thesis, Chulalongkorn University.]

ประคอง กรรณสูต. (2528). สถิติเพื่อการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ ดร.ศรีสง่า จำกัด. [Prakong kannasoot. (1985). Statistics for behavioral science research. Bangkok: Dr. Si Sa-nga Book Center Co., Ltd.

ปิ่นนารา คุณานนท์ . (2548). ปัญหาและอุปสรรคทางการตลาดของการจัดการแข่งขันฟุตบอล ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม. [Pinnara Kunanon. (2005). The Marketing Problem and Threat of The Football Thailand Premier Leage. Thesis, Chandrakasem Rajabhat University.]

ภานินี นิมากร . (2545). ประสิทธิผลของการสื่อสารการตลาดของผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็น ทางการการแข่งขันกีฬา ฟุตบอลโลก 2002. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Paninee Nimakorn.(2002) Effectiveness of Marketing Communications by world cup 2002 official sponsor. Thesis, Chulalongkorn University.]

รณพงศ์ คำนวณทิพย์.(2549).“เสียดายคนไทยไม่ค่อยได้อ่าน”กรุงเทพธุรกิจ,28 กันยายน 2549 หน้า 3. [Ronnapong Kamnountip. (2006). “What a pity Thais barely read them.” Bangkokbiznews , September 28, 2006. P3

ศราณี มณีโชติ.(2545). การเปิดรับความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จากการรับฟังรายการความรู้ ทางการเกษตรของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนเกษตรทางอากาศ ผ่านทางหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Saranee Maneechot. (2002). Exposure, use and gratification on agricultural knowledge program of agriculturists attending Agricultural School on the Air Project via village broadcast Thesis, Thammasat University.]

อนันต์ เมืองทอง. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการประชาสัมพันธ์การแข่งขันฟุตบอล อาชีพของประเทศไทย กรณีศึกษา สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. [Anan Muangthong. (2014). The Factors contributing to the success of public relations towards professional football games in Thailand: the case study of SCG Muangthong United. Thesis, Sripatum University.]

Kotler, P. (2000). Marketing management: Analyzing consumer marketing and Buyer behavior (The Millennium). New Jersey: Prentice Hall.

Kevin Roberts. (2004). Lovemarks: the future beyond brands. New York: Power House Books

Samual L. Becker. (1978). Discovering Mass Communication. lllinois: Scott Foreman and Glenwave.

Schiffman, Leon G.; & Kanuk, Leslielazer. (1994).Consumer Behavior. 5th Ed. New Jersey : Prentice-Hall, Inc.

Yamane, T.(1973) Statistic: An Introductory Analysis. (3rd ed.). New York: Harper & Row.

เว็บไซต์

วิชิต แย้มบุญเรือง. (2552). จุดเปลี่ยนบอลไทย! กฎเหล็กคุณภาพ - การตลาดต้องแรง. โพซิชันนิ่งแมกกาซีน. เข้าถึงได้จาก http://www.positioningmag.com. วันที่สืบค้น 20 มีนาคม 2559. [Vichit Yamboonruang. (2008). The change from football Thailand! Quality rules - to market forces. Retrieved : from http://www.positioningmag.com, March 20, 2015.]

สุกรี แมนชัยนิมิต. (2552). “Localism จุดระเบิดชลบุรี เอฟซี,”โพซิชันนิ่งแมกกาซีน. เข้าถึงได้จาก http://www.positioningmag.com.วันที่สืบค้น 20 มีนาคม 2559 [Sukree Manchainimit. (2008). Localism Ignition Chonburi football Club. Retrieved : from http://www.positioningmag.com. March 20, 2015.]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-09-01