ความสำคัญของกราฟิกในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
กราฟิก, ดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความนี้เขียนขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์งานกราฟิกในงานโทรทัศน์ยุคดิจิทัล เนื่องจากรายการโทรทัศน์ในปัจจุบันถูกนำไปออกอากาศหลากหลายแพลตฟอร์ม ซึ่งแต่ละแพลตฟอร์มก็มีข้อจำกัดในการรับชมที่ต่างกัน ดังนั้นผู้ผลิตรายการส่วนใหญ่จึงหันมาใช้กราฟิกเพื่อที่จะช่วยดึงดูดความสนใจผู้ชมได้เพิ่มมากขึ้น และถ้าหากสังเกตรายการโทรทัศน์ต่างๆ จะเห็นได้ว่าผู้ผลิตรายการจะสร้างสรรค์กราฟิกในส่วนต่างๆ ของรายการ อาทิ โลโก้รายการ-(Logo)-ไตเติ้ลรายการ-(Title)-อินเตอร์ลูดรายการ (Interlude)-และท้ายรายการ-(End-Credit)-ให้ออกมาเพื่อแสดงถึงลักษณะเด่นของรายการให้มากที่สุด บางครั้งเพียงแค่ได้เห็นการใช้กราฟิกในรายการผู้ชมก็สามารถเข้าใจเนื้อหาที่รายการต้องการนำเสนอได้ และเพื่อให้เกิดความหลากหลายและความน่าสนใจในรายการโทรทัศน์ ผู้ผลิตรายการจึงทำงานกราฟิกให้ออกมามีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ชม ด้วยเหตุนี้เองงานกราฟิกจึงได้รับการพัฒนาให้มีความทันสมัยและแปลกใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อให้งานโทรทัศน์ในยุคดิจิทัลมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น
References
กฤษกร ไสยกิจ. (2554). การสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาทางสื่อโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Kitsakhon Sayakit. (2011). Graphical Communication In Live Broadcast Television Sports. Master of Arts, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.]
ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. (2550). การสื่อความหมายเชิงสัญรูปของการสื่อสารเชิงกราฟิกสำหรับงานโทรทัศน์เฉพาะเรื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Chinnagrit Udomlappaisan. (2007). The Iconic Signification of Graphic Communication in Selected Television Works.
Master of Arts Program in Mass Communication, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.]
สาธิตา นวสกุล. (2545). กราฟิกกับรายการโทรทัศน์. สารนิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรบัณฑิตสาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [Sathit Nawasakul. (2002). Graphic and Television. Bachelor of Arts Program in Journalism, Department of Radio and Television, Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University.]
อนันท์ วาโซะ. (2558). Graphic Design for Printing & Publishing. นนทบุรี : ไอดีซีพรีเมียร์ จำกัด. [Anan Wawa. (2015). Graphic Design for Printing & Publishing. Nonthaburi : IDC Premier.]
Hollis, R.(1994) Graphic Design. London : Thames and Hudson.
Jobling, P. and Crowley, D. (1996) GraphicDesign : Reproduction and Representation since 1800. Manchester : Manchester University Press.
เว็บไซต์
ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. (2557). “คอนเทนต์รายการดี กราฟิกทีวีสำคัญไฉน”. เข้าถึงได้จาก : www.bangkokbiznews.com/blog/detail/580354. เมื่อ 1 พฤษภาคม 2561). [Chinnagrit Udomlappaisan. (2014). “Program TV Content Good How Graphic Impotant”. Retrieved : www.bangkokbiznews.com/blog/detail/580354, May 1, 2018]