บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชนในการสร้างเครือข่ายการสื่อสารทางการเมือง
คำสำคัญ:
บทบาทหน้าที่, สื่อมวลชน, การสร้างเครือข่ายการสื่อสารทางการเมืองบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชนด้านการสื่อสารทางการเมือง 2. แนวทางการสร้างเครือข่ายของสื่อมวลชนด้านการสื่อสารทางการเมือง การวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาสื่อมวลชนในพื้นที่จังหวัดสงขลา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 2 กลุ่ม คือ 1) ระดับผู้บริหาร ได้แก่ ผู้ที่มีตำแหน่งบรรณาธิการข่าว บรรณาธิการบริหาร ผู้อำนวยการหรือหัวหน้าสถานีวิทยุ /โทรทัศน์ เจ้าของกิจการ หัวหน้าฝ่ายหรือตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่ควบคุมและกำกับนโยบายองค์กรสื่อ จากสื่อแต่ละประเภท ประเภทละ 4 คน รวม 16 คน 2) ระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ผู้สื่อข่าว ผู้จัดรายการ ผู้ดูแลเว็บไซต์ด้านเนื้อหา โดยเชิญทุกสื่อเข้าร่วม ให้ได้ครบจำนวน 20 คน
ผลการวิจัยได้ข้อสรุปดังนี้
1. บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชนด้านการสื่อสารทางการเมือง สื่อมวลชนมีบทบาทในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน สื่อมวลชนในจังหวัดสงขลามีการนำเสนอข่าวสารที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านทางการรณรงค์ให้ประชาชนไปลงคะแนนการเลือกตั้งทั้งในระดับประเทศและในระดับท้องถิ่นโดยเน้นการนำเสนอข่าวสารที่เป็นกลาง สื่อมวลชนมีบทบาทในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน สื่อมวลชนในจังหวัดสงขลามีการนำข้อมูลข่าวสารของทางคณะกรรมการการเลือกตั้งเผยแพร่ให้กับประชาชนในจังหวัดสงขลา 2. แนวทางการสร้างเครือข่ายของสื่อมวลชนด้านการสื่อสารทางการเมือง องค์ประกอบของการสร้างเครือข่าย สื่อมวลชนในจังหวัดสงขลามีการสร้างเครือข่าย ที่มีกิจกรรมที่ทำร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน สื่อมวลชนในจังหวัดสงขลาเป็นทั้งเครือข่ายที่เกิดโดยธรรมชาติ และเครือข่ายจัดตั้งด้วยการสร้างไลน์กลุ่มสื่อมวลชนในสงขลา
References
การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/knowledge-management/3313-tapian-model-km
การสร้างเครือข่าย (Networking). สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน2560, จาก www.loei.go.th
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.(2560). ทฤษฎีการคอรัปชั่น. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://www.li.mahidol.ac.th/conference2016/thailand4.pdf
ณัฐกานต์ กูลณรงค์. (2550). การสื่อสารทางการเมืองบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในช่วงการต่อต้านรัฐบาลทักษิณ . มหาวิทยาลัยเชียงใหม่/เชียงใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน2560, จาก library.cmu.ac.th
ธีรวุฒิ ก่ายแก้ว.(2556). ปัจจัยความเจริญเติบโตของเครือข่าย. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://www.skru.ac.th
ธีรวุฒิ ก่ายแก้ว. (2560). ศึกษาเรื่องการสร้างเครือข่ายทางสังคม: กรณีศึกษา นักฟุตบอลสมัครเล่นในกลุ่มกรุงเทพเหนือ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560, จาก https://hs.kku.ac.th/ichuso/2018/ICHUSO-097.pdf
บาว นาคร.(2555). บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จากwww.presscouncil.or.th
บาว นาคร.(2555). การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของชุมชนท้องถิ่น สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/baocd12
ภูริดา เชวงศักดิ์สงคราม.(2558). ศึกษาเรื่อง เครือข่าย ขั้นตอนการรณรงค์และกลยุทธ์การสื่อสารของโครงการสวนผักคนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E.../146970/
พระมหาสุทิตย์อาภากโร (อบอุ่น). เครือข่าย :ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก http://library.thaihealth.or.th/
เลอภพ โสรัตนและคณะ (2554) เรื่อง บทบาทสื่อมวลชนกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองไทย สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก grad.vru.ac.th/pdf-journal/JourTs53/15Lerpop
วันฉัตร โกมลวิวัฒน์. (2554). ศึกษาเรื่องการสื่อสารการเมืองผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกลุ่มคนเสื้อหลากสี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560, จากwww.tnrr.in.th/2558/?page=research
วันฉัตร โกมลวิวัฒน์. (2554). องค์ประกอบของเครือข่าย. เครือข่ายเทียม. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน2560, จาก www.loei.go.th/TH/attachments
สนธยา พลศรี.(2550). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. สำนักพิมพ์ พิมพ์ลักษณ์ กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
สมกลู ถาวรกิจ (ม.ป.ป.).(2559). ปัจจัยความสําเร็จของเครือข่ายทางสังคม. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://dtc.ac.th/research/dtcjournalyear11vol2thai
สมพงศ์ เกษมสิน และจรูญ สุภาพ.(2550). ประชาธิปไตยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและระบบการเมือง. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://www.baanjomyut.com/library_4/politics/14.html
สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี พงศ์พิศ.(2552). ประเภทเครือข่ายทางสังคม. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2562, จาก https://hs.kku.ac.th/ichuso/2018/ICHUSO-097.pdf
สกุลศรี ศรีสารคาม.(2560). การส่งเสริมแนวทางการใช้ข้อมูลจากสื่อออนไลน์ ในกระบวนการรายงานข่าว ในยุคเทคโนโลยีหลอมรวม. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://campus.campus-star.com/variety/129389.html
สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม.(2557). สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560, จาก http://library2.parliament.go.th
สำนักงานสถิติจังหวัดสงขลา.(2560). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์จังหวัดสงขลา. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน2560, จาก http://slbkb.psu.ac.th/xmlui/handle
สำนักงานสถิติจังหวัดสงขลา.(2560). แนวทางสู่การสร้างสงขลาพอเพียง สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก http://songkhlahealth.org/paper/461
Denis McQuail's.(2010). Mass Communication Theory is not just a seminal text in the study of media ... SAGE Publications 2010. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, https://books.google.com/.../McQuail_s_Mass_Communication_Theory.html
Edward Herman and Noam Chomsky, The 1988 Edward Herman/Noam Chomsky Propaganda Model in สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560,จาก modern-media/https:// www.projectcensored.org
James Curran and Jean Seaton Power without responsability 1991. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://www.academia.edu
John R. Schermerhorn, Jr., James G. Hunt, Richard N. OsbornOrganizational behavior Organizational behavior 2003 / สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จากhttps://trove.nla.gov.au/work/7900576
Heywood Extension.(2002).The East Lancashire Light Railway Order.สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก http://www.legislation.gov.uk/uksi/2002/1384/contents/made
McNair, B. An Introduction to Political Communication Routledge 1995 Queensland University of Technology สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2560, จาก https://qut.academia.edu/BrianMcNair/CurriculumVitae