การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงาน ขององค์การบริหารส่วนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
การมีสํวนรํวม, การบริหารงาน, องค์การบริหารสํวนตำบลบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีสํวนรํวมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารสํวนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกํน 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารสํวนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกํน โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุํมตัวอย่าง จำนวน 381 คน นำมาวิเคราะห์ประมวลผลด๎วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย คําเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบวํา
- 1. สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 381 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 23 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 47.77 มีอายุ 41 ปีขึ้นไป ร้อยละ 62.99 อายุ 31– 40 ปี ร้อยละ 18.11 อายุ 21 30 ปี ร้อยละ 13.91และอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 4.99 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 57.22 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 17.06 มัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษา ร้อยละ 16.01 ปริญญาตรี ร้อยละ 7.61 และสูงกวําปริญญาตรี ร้อยละ 2.10 จบประกอบอาชีพ รับจ้าง/เกษตรกรรม ร้อยละ 75.85 รองลงมา คือ ค้าขาย/กิจการส่วนตัว ร้อยละ 11.29 คนนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 8.66 และรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 4.20
- 2. การมีสํวนรํวมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารสํวนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกํน ทุกด้าน โดยรวมอยูํในระดับมาก ( ̅=3.53) ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผนและการดำเนินการ โดยรวมอยูํในระดับมาก ( ̅= 3.53) ด๎านการมีสํวนรํวมในการตัดสินใจ โดยภาพอยูํในระดับมาก ( ̅= 3.48) ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามผลและประเมินผล โดยรวมอยูํในระดับมาก ( ̅= 3.31)
- 3. ข้อเสนอแนะ ของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารสํวนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกํน ดังนี้ 1) ด้านการมีสํวนรํวมในการวางแผนและการดำเนินการ ควรมีการเปิดโอกาสประชาชนมีสํวนรํวมในการวางแผนหรือทราบการดำเนินงานขององค์การบริหารสํวนตำบลนางาม มากกวํานี้ ร้อยละ 54.17 ประชาชนไม่เข้าใจงานต่างๆ ของส่วนตำบลควรมีการประชุมอธิบายโครงการตํางๆ ให้มากกว่านี้, ควรมีการชี้แจงรายละเอียดของโครงการ และกิจกรรมตํางๆ ขององค์การบริหารสํวนตำบล ตํอประชาชน, เพิ่มโอกาสในการมีส่วนร่วมในการวางแผนในการทำงานต่างๆ เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมของประชาชน ร้อยละ 12.50 ให้องค์การบริหารสํวนตำบลลงพื้นที่สม่ำเสมอเพื่อสอบถามปัญหาในพื้นที่ , ให้มีการใช้เสียงข้างมากเป็นสำคัญ ร้อยละ 4.172) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในโครงการ หรือกิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ 80.00 การไม่เข้าถึงข้อมูล และรายละเอียดของโครงการที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำของประชาชน ร้อยละ 13.33 ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนได้รับรู้ถึงรายละเอียด และมีการประชุมรํวมกับประชาชนในการตัดสินใจในโครงการ หรือกิจกรรมขององค์การบริหารสํวนตำบล ร้อยละ 6.673) ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามผลและประเมินผล ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมติดตามผลและประเมินผลในกิจกรรม และโครงการขององค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ 42.86 การติดตามเป็นได้แค่ดูอยู่ห่างๆ เพราะไม่ทราบข้อมูลอะไรที่แน่ชัดในการดำเนินงาน งบประมาณและการจัดสรร เห็นเพียงภาพลักษณ์ภายนอกในการดำเนินงาน ควรมีการแก้ไข ร้อยละ 28.57ประชาชนมีส่วนร่วมแค่เห็นผลสำเร็จของงาน แต่ไม่เห็นรายละเอียดในการสร้างว่ามีส่วนประกอบใดบ้าง จึงไมํสามารถติดตามและประเมินผลได้แน่ชัดจึงเป็นไปได้ยากที่จะได้รับทราบข้อมูลที่แท้จริง ร้อยละ 21.43
References
จุฑามาศ ศรีสิริพรพันธ์. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานองค์การบริหารส่วนตำบล : ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลคลองขุด อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา. ปัญหาพิเศษ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชานโยบายสาธารณะ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ : มหาวิทยาลัยบูรพา.
จันทิมา วันชาญเวช. (2555). การมีส่วนร่วมของสมาชิกสภาต่อการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบางสีทอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี .รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยทองสุข.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2554). เทคนิคการเขียนแบบสอบถามสำหรับการทำวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ .
ฐิติพงศ์ โกสันต์. (2558).การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดนครนายก. วารสารวิจัยและพัฒนา. วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที 10 ฉบับที่ 2 (เดือนพฤษภาคม – เดือนสิงหาคม).
สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี .วารสารวิชาการ
VeridianE-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (เดือนสิงหาคม).
อรรณพ โพธิสุข. (2548).การศึกษาสภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อิสท์บางกอก.คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, (อัดสำเนา).
จันทิมา วันชาญเวช. (2555). การมีส่วนร่วมของสมาชิกสภาต่อการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบางสีทอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี .รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยทองสุข.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2554). เทคนิคการเขียนแบบสอบถามสำหรับการทำวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ .
ฐิติพงศ์ โกสันต์. (2558).การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดนครนายก. วารสารวิจัยและพัฒนา. วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที 10 ฉบับที่ 2 (เดือนพฤษภาคม – เดือนสิงหาคม).
สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี .วารสารวิชาการ
VeridianE-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (เดือนสิงหาคม).
อรรณพ โพธิสุข. (2548).การศึกษาสภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อิสท์บางกอก.คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, (อัดสำเนา).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-04-2020
How to Cite
ศรีษะเกษ ด. . (2020). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงาน ขององค์การบริหารส่วนตำบลนางาม อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน, 1(1), 1–9. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jhsmbuisc/article/view/251370
ฉบับ
บท
บทความวิจัย