Charles Taylor’s Theory of Multiculturalism
Main Article Content
Abstract
“ทฤษฎีพหุวัฒนธรรมนิยม ของ ชาร์ลส เทย์เลอร์” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ สิงห์สุริยา ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นบทความวิจัยทางปรัชญาที่ศึกษาแนวคิด ของ ชาร์ลส์ เทย์เลอร์ นักปรัชญาชาวแคนาดา ผู้พัฒนาทฤษฎีพหุวัฒนธรรมนิยมเชิงเสรีนิยม บทความนี้เป็นบทความหนึ่งในหนังสือ พุทธธรรมพหุนิยม เล่ม 3 : ร่วมรอย เจมส์ ไฮเดกเกอร์ เทย์เลอร์ ริเกอร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยพุทธธรรมพหุนิยม (Buddhist Pluralism) ปีที่ 1 (2561-2564) ของ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สุวรรณา สถาอานันท์ เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยโครงการนี้ จาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์
ข้อความในบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และข้อคิดเห็นนั้นไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์
References
พุฒวิทย์ บุนนาค (เรียบเรียง). (2554). สารานุกรมปรัชญาออนไลน์: อัตตาณัติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2565 จาก http://www.parst.or.th/philospedia/autonomy.html
บัณฑิต ไกรวิจิตร. (2563). “พหุนิยมทางวัฒนธรรม” ในช่วงเวลาวิกฤติ. วารสารไทยคดีศึกษา. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน, 150-184. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2565 จาก https:// so06.tci-thaijo.org
ปกรณ์ สิงห์สุริยา. (2565). ทฤษฎีพหุวัฒนธรรมนิยม ของ ชาร์ลส เทย์เลอร์ พุทธธรรมพหุนิยม เล่ม 3 : ร่วมรอย เจมส์ ไฮเดกเกอร์ เทย์เลอร์ ริเกอร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ).
สุวรรณา สถาอานันท์. (2565). การต้อนรับแขกคนแปลกหน้าทางปรัชญา: ชาร์ลส เทย์เลอร์, บทสังเคราะห์ พุทธธรรมพหุนิยม: ระหว่างสัจธรรมกับวัฒนธรรม พุทธธรรมพหุนิยม เล่ม 3 : ร่วมรอย เจมส์ ไฮเดกเกอร์ เทย์เลอร์ ริเกอร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ).
โสวัตรี ณ ถลาง. (2564). แนวความคิดและทฤษฎีมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อมรา พงศาพิชญ์. (2549). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (กระบวนทัศน์และบทบาทในประชาสังคม). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อิษฎาณิศ ตันติชุติ. (2564). อัตตาณัติกับอนัตตา: การวิเคราะห์ในมุมมองของ
พุทธปรัชญาเถรวาท. วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม, 1-13. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2565 จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmpr/article/view/251173/170513
Blum, Lawrence. (1994). Multiculturalism, Racial Justice, and Community: Reflections on Charles Taylor’s “Politics of Recognition”, Defending Diversity. Amherst: University of Massachusetts Press. 175-205. Retrieved October 19, 2022. from https://www.dropbox.com/s/9sofdc78q6tgugu/Blum1994MulticulturalismRacialJustice%26CommunityCritiqueofCTaylor.pdf?dl=0
Feuer, Lewis. (1991). From Pluralism to Multiculturalism. Society 29.1: 19–22.
Gadamer, Hans-Georg. (2013). Truth and Method. London: Bloomsbury Academic.
King, Sallie B. (1996). Conclusion: Buddhist Social Activism. In Queen, Christopher S. and King, Sallie B. (ed.). Engaged Buddhism: Buddhist liberation movements in Asia. Albany: State University of New York.