The Measurement and Evaluation Administration of Potisarnpittayakorn School
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to determine 1) the management of educational measurement and evaluation at Potisarnpittayakorn School and 2) approaches to promote and improve the management of educational measurement and evaluation at Potisarnpittayakorn School. The sample consists of 30 administrators and teachers at Potisarnpittayakorn School. The research tools used are: 1) a question on opinions regarding the level of management of educational measurement and evaluation at the school, and 2) an open-ended questionnaire for suggestions on promoting and improving the management of educational measurement and evaluation. The statistics used for data analysis include frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and content analysis. The findings were as follows: 1) The overall management of educational measurement and evaluation at Potisarnpittayakorn School is at a high level. 2) The approaches to promote and improve the management of educational measurement and evaluation at Potisarnpittayakorn School are multifaceted, with five main areas consisting of 32 specific suggestions and 96 practical guidelines. For example, holding meetings to explain the importance of diagnostic test creation to teachers and staff, assigning teachers and personnel to handle educational measurement and evaluation roles based on their qualifications, knowledge, ability, and interest, preparing information and resources on the school's educational measurement and evaluation process, aligning achievement measurement with curriculum changes and 21st century learning, appointing a committee to oversee and evaluate the educational measurement and evaluation process, and preparing forms, manuals, announcements, orders, and other official documents related to the rules of academic performance evaluation. No developmental approaches were identified. And since all variables have arithmetic mean values higher than 3.50, there is no guideline for development.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์
ข้อความในบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และข้อคิดเห็นนั้นไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์
References
กมล ภู่ประเสริฐ. (2547). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: เมธีทิปส์.
กัญจนา ลินทรัตนศิริกุล. (2552). การวางแผนการวัดและประเมินผลการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวทางปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตร แห่งประเทศไทย.
ธัญดา ยงยศยิ่ง. (2560). “การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยะลา เขต 3”. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.
ณัฐา เพชรธนู.(2556). การพัฒนาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 8(1): 55-70.
นันทิยา ไชยมัชฌิม. (2557). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ด้านการวัดและประเมินผลการคิดวิเคราะห์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์.
วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 20(1): 118-133.
พิกุล เอกวรางกูร. (2550). “การวิจัยและพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แบบบูรณาการ ระดับประถมศึกษา”. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วราเสฏฐ์ เกษีสังข์. (2561).การบริหารจัดการการวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. 9(1): 38-46.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุรพงษ์ แสงสีมุข. (2557). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 16(2): 119-128.
ไสว ฟักขาว.(มปป.). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 24 มกราคม 2567, จากhttp://web.chandra.ac.th/blog/wp.../ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21-พับ.pdf
Best, John W. and James V. Kahn. (2006). Research in Education. 10th ed. Massachusetts: Pearson Education Inc.