การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบ KWDL Plus บูรณาการการคิดเชิงอภิปัญญา : มิติใหม่ของการเรียนรู้แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ บทความวิชาการ

Main Article Content

ทวุธ วงค์วงค์

บทคัดย่อ

      บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้แบบ KWDL Plus โดยบูรณาการการคิดเชิงอภิปัญญา จากการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับปัญหาโดยใช้ปัญหาเป็นจุดกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การค้นคว้าหาความรู้ คิดวิเคราะห์ปัญหา มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ส่งเสริมการคิดระดับสูง การทำงานเป็นกลุ่ม การสร้างกระบวนการเรียนรู้จากการทำงานกลุ่ม และนำความรู้นั้นกับไปใช้แก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้แบบ KWDL Plus ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการทางคณิตศาสตร์อย่างเป็นขั้นตอน รู้จักการคิดวิเคราะห์ของข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ทั้งเป็นกระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญาและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ส่งผลให้เป็นนักแก้ปัญหาที่ดี และการคิดเชิงอภิปัญญา กระบวนการเรียนรู้เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาโดยมีกระบวนการการแก้ปัญหาพื้นฐาน การจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 แบบ เป็นขั้นตอนที่สำคัญของการฝึกทักษะและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในวางแผนการแก้ปัญหาและแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ผู้เรียนสามารถมีทักษะแก้ปัญหาและมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ด้านการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ดีขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เจนจิรา คำดี. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผนวกเทคนิค KWL Plus ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มโรงเรียนภาชีระพีพัฒน์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์,34 (3), 117–127.

เจษฎายุทธ ไกรกลาง. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปัญหาเป็นฐานต่อการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.

________. (2554). เทคนิคการใช้คำถามพัฒนาการคิด. นนทบุรี : สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง.

________. (2558). ศิลปะการสอนเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________. (2554). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นฤมล ทิพย์พินิจ. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เทคนิค KWDL ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสามัคคีธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎร์ธานี.

ผ่องพรรณ อวนศรี. (2555). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ที่เน้นการคิดเชิงอภิปัญญา เรื่อง เลขยกกำลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับ บัณฑิตศึกษา, 7 (2), 74–81.

ผุสดี กล่อมวงษ์. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ด้านการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 5. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เพ็นนี บุญอาษา. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสุขศึกษา ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานผสมผสานกลวิธีเมตาคอกนิซัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2553). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วิชชุดา วิศววิลาวัณย์. (2558). การจัดกิจกรรมการนเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 30 (3), 110–119.ศูนย์ PISA แห่งชาติ สถาบันการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) (2561). ผลการวิจัย PISA 2018.

[Online]. Available : http://www.ipst.ac.th. [2561, ธันวาคม 25].

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). รายงานประจำปี 2562. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อดิเรก เฉลียวฉลาด. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้เทคนิค KWDL กับการสอนปกติ.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

อนุชา โสมาบุตร. (2557). การพัฒนาโมเดลการแพร่นวัตกรรมการเรียนรู้ : กรณีศึกษานวัตกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อนุรักษ์ เร่งรัด. (2557). การพัฒนาแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Ajai, J. T., & Imoko, I.I. (2015). Gender differences in mathematics achievement and retention scores: A case of problem-based learning method. International Journal of Research in Education and Science (IJRES), 1 (1), 45-50.

Albanese M. A., & Mitchell S. (1993). Problem-based learning: A review of literature on its outcomes and implementation issues. Academic Medicine 68, 52-81.

Arends, R. I. (2004). Learning to teach. 6thEd. New York : McGraw-Hill.

Barrows, H. S. (1996). Problem-Based Learning in Medicine and Beyond : A Brief Overview in Bringing Problem-Based Learning to Higher Educatio : Theory and Practice. edified by L. Wilkerson and W. H. Gijselears (Ed.). p. 3–12. San Francisco : Jossey–Bass.

Barrows, H. S. & Tamblyn, R.M. (1980). Problem-Based Learning : An Approach to Medical Education. New York : Springer.

Beyer, B K. (1987). Practical strategies for Teaching of Thinking. Boston : Allyn and Bacon.

Delisle, R. (1997). How to Use Problem-Based Learning in the Classroom. Alexadria, VA : Association for Supervision and Curriculum Development.

Dolmans, D., & Schmidt, H. (1995). The Advantages of a Problem-Based Curricula.Postgrad Med J, 72, 535-538.

Engel, C. E. (1992). Problem-Based Learning. British Journal of Hospital Medicine, 48, 325-329.

Gallagher, S. A. (1997). Problem-Based Learning : Where did it come from, What does It Do,

and Where is it going?. Journal for the Education of the Gifted, 20 (4),332-362.

Greenwald, N. (2000). Learning from Problem : Bringing Authenic Science Challenges into the Classroom. The Science Teacher. Vol.67. No.4, 28-32.

Hmelo, C.E. & Evensen, D. H. (2000). Introduction Problem-Based Learning : Gaining Insighrs on Learning Interaction Through Multiple Methods of Inquiry. In D. H. Evensen and C. E.Hmelo (eds). Problem-Based Learning A Research Perspective on Learning Interaction.pp. 1–16. Mahwah, New Jersey : Lawrence Erlbaum Associates. communications and

technology (3rded., pp. 485-506). Mahwah, NJ : Erlbaum.

Ogle, D. (1986). K-W-L: A Teaching Model That Develops Active Reading of Expository Text.

Reading Teacher, 39, 564-70.

Shaw, J. M. & Chessin, D. A. (1997). Teaching Children Mathematics. [Online]. Available : http://accessmylibrary.com/com2/summar. [2562 ตุลาคม 10].