นวัตกรรมและการบริหารจัดการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานวัตกรรมและการบริหารจัดการ พบว่าองค์การที่สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ต้องมีผู้บริหารที่ความมุ่งมั่นในการสร้างนวัตกรรม การมีบรรยากาศในการทำงานที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมการยอมรับความผิดพลาดหรือความล้มเหลวอันเป็นผลจากความกล้าเสี่ยงการสื่อสารในระดับเดียวกัน การมีโครงสร้างองค์การที่มีความยืดหยุ่น การมีมุมมองในระยะยาว ตลอดจนการมีวิสัยทัศน์และกลยุทธ์การพัฒนาองค์การว่าจะพัฒนาไปอย่างไรรวมถึงระบบการจัดการความสามารถและสายการบังคับบัญชาที่แบ่งตามหน้าที่การทำงานของแต่ละฝ่ายไว้อย่างชัดเจน ดังนั้นนวัตกรรมจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนำมาใช้ในการพัฒนาคน องค์การ หน่วยงาน รวมถึงความก้าวไกลของประเทศชาติซึ่งนวัตกรรมจะเกิดขึ้นได้ด้วยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และนำสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. เศรษฐชัย ชัยสนิท. (2553). นวัตกรรมและเทคโนโลยี. เข้าถึงได้จาก http://it.east. spu.ac.th/ informatics/admin/knowledge/A307Innovation%/20and %20Technology.pdf.
3. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2547). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.
4. Adair, John E. (1996). Effective Innovation: How to Stay Ahead of the Competition. London: Pan Books.
5. Byrd. T. A. & Turner, D. E. (2001). An exploratory examination of the relationship between flexible IT infrastructure and Competitive advantage. Journal of Information and Management, 39(2).
6. Christiansen, James A. (2000). Building The Innovative Organization: Management Systems that Encourage Innovation. Hampshire: Macmillan Press.
7. Dobni, Brooke C. (2008). Measuring Innovation Culture in Organization the Development of a Generalized Innovation Culture Construct Using Exploratory Factor Analysis. European Journal of Innovation Management, 11(4).
8. Gundling, Ernest. (2000). The 3M Way to Innovation Balancing People and Profit. Ottawa: Kodansha International Ltd.
9. Guan, J. and Ma, N. (2003). Innovative Capability and Export Performance of Chinese Firms. Technovation, 23(1).
Hughes, Chuck. (2003). What does it really takes to get into the Ivy League & other highly selective colleges. New York: McGraw- Hill.
10. Price water house Coopers. (1999). Global Growth and Innovation Study, Executive Summary. London: Price waterhouse Coopers.
11. Schumpeter, Joseph A. (1961). The Theory of Economic Development. Cambridge: Harvard University Press.
12. Alvin, Tofler. (1980). The Third Wave. New York: William Marrow.