การเปลี่ยนแปลงที่กำลังดำเนินอยู่ กรณีศึกษา การเปลี่ยนแปลงของเสียงพยัญชนะกับสระบางเสียงในภาษาไทดำ
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การแปรที่มีแนวโน้มไปสู่การ เปลี่ยนแปลงของเสียงพยัญชนะและสระบางเสียงในภาษาไทดำบ้านนาป่าหนาด ตำบลเขาแก้ว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โดยดูว่ามีปัจจัยใดที่ทำให้พยัญชนะ และสระในภาษาไทดำปัจจุบันเกิดการแปรและเปลี่ยนแปลงเสียงไปจากภาษาไทดำ โบราณ การอธิบายถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเสียงจะพิจารณาจากปัจจัยทาง สังคม คือ การสัมผัสภาษา (language contact) ทั้งจากภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษากลุม่ ลาว (ภาษาเลย/ ลาวเวียงจันทน/ ลาวหลวงพระบาง) และอายุ กลุ่มอายุที่ ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มวัยสูงอายุ กลุ่มวัยกลางคน และกลุ่มวัยรุ่น ผลการศึกษา เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดการแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทดำพบว่า การสัมผัสภาษาจากคำยืมในภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษากลุ่มลาวซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกภาษา จัดเป็นปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญ โดยมี การแปรเสียงไปตามกลุม่ อายุ การแปรเสียงที่มีแนวโนม้ ไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงเสียง จะพิจารณาจากการใช้รูปแปรเฉพาะผู้พูดในกลุ่มวัยรุ่น คือ กลุ่มวัยรุ่น จะรับอิทธิพล จากภาษาไทยมาตรฐานที่มีเสียงปฏิภาคกับคำในภาษาไทดำเข้ามาใช้มากกว่าผู้พูด อีกสองกลุ่มอายุที่จะรับอิทธิพลส่วนใหญ่มาจากภาษากลุ่มลาว นอกจากนี้เฉพาะ ผู้พูดในกลุ่มวัยรุ่นยังพบการใช้รูปแปร [ɤː] ของสระประสม /aɯ/ ที่สันนิษฐานว่า เป็นการแปรที่เกิดจากปัจจัยภายในภาษา โดยการออกเสียงสระให้ง่ายขึ้น (Vowel simplification)
References
กาญจนา พันธุ์ค้า . (๒๕๒๓). ลักษณะเฉพาะด้านเสียงของภาษาลาวในอำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาคริต อนันทราวัน. (๒๕๒๑). ระบบหนว่ ยเสียงในภาษาไทดำ หมู่บ้านนาป่าหนาด ตำบลเขาแก้ว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ. (๒๕๔๕). คลังศัพท์ไทดำดั้งเดิม. (ต้นฉบับ).
ปราณี กุลละวณิชย์. (๒๕๒๗). ภาษาไทยเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พจนานุกรม ภาคอีสาน-ภาคกลาง. (๒๕๑๕). กรุงเทพฯ : บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พจนานุกรมลาว-ไทย. (๒๕๔๓). กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.
พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล. (๒๕๔๖). การเปลี่ยนแปลงของวรรณยุกต์ กรณีศึกษาภาษากลุ่มลาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พุทธชาด ธนัญชยานนท์. (๒๕๓๖). การเกิดความต่างด้านความสั้นยาวของสระกลางและสระตํ่าในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพชรตะบอง ไพศูนญ์. (๒๕๕๓). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของไทดำในกระแสการเปลี่ยนแปลง : กรณีศึกษาเปรียบเทียบไทยดำในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
รสริน เสือส่อสิทธิ์. (๒๕๓๕). ระบบเสียงภาษาลาวโซ่ง หมู่บ้านดอนเตาอิฐ ตำบลรางหวาย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. สารนิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิไลลักษณ์ เดชะ. (๒๕๓๐). ศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงของภาษาไทย ๖ ภาษาที่พูดในอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมทรง บุรุษพัฒน์. (๒๕๕๔). ระบบเสียงภาษาไทยดำ/ ไทยโซ่ง. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ๓๐ (๑), ๑๔๑-๑๖๗.
สมทรง บุรุษพัฒน์. (๒๕๕๕). การแปรพยัญชนะและสระ. (ต้นฉบับ).
สุพัตรา จิรนันทนากรณ์, อัญชลี สิงห์น้อย และศิริพร มณีชู. (๒๕๔๖). รายงานการวิจัยเรื่องระบบไวยากรณ์ในภาษาไทยโซ่ง. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
โสภิตา ถาวร. (๒๕๕๖). การแปรและการเปลี่ยนแปลงทางเสียงในภาษาไทดำ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (๒๕๔๔). ภาษาศาสตร์สังคม (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพันธ์ อุนากรสวัสดิ์. (๒๕๓๖). ศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาผู้ไทกับภาษาลาวโซ่ง. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อัญชุลี บูรณะสิงห์. (๒๕๓๑). วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ถ้อยคำของคนสามระดับอายุในภาษาไทยโซ่ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์และภาษาเอเชียอาคเนย์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
Brown, Marvin J. (๑๙๖๕). From Ancient Thai to Modern Dialects. Bangkok : Social Science Association Press of Thailand.
Chamberlain, James R. (๑๙๗๕). A new look at the history and classification of the Tai languages, in Studies in Tai Linguistics in Honor of William J. Gedney, (pp. ๔๙-๖๖). Bangkok : Central Institute of English Language Office of State Universities.
Fippinger, Jay and Dorothy. (๑๙๗๔). Black Tai Phonemes, with Reference to White Tai. Anthropological Linguistics ๑๒.๓ : ๘๓-๙๕.
Gedney, William J. (๑๙๖๔). A Comparative sketch of White, Black and Red Tai. The Social Review. Special Number ๑๔ : ๑-๔๗.
Gedney, William J. (๑๙๗๒). A Checklist for Determining Tones in Thai Dialects, Studies in Linguistics in Honor of George L. Trager. The Hague : Moulton.
Hartmann, John. (๑๙๙๘). A Linguistic Geography and History of Tai Meuang-Fai (Ditch-Dike) Techno-Culture. Journal of Language and Linguistics, ๑๖ (๒), ๖๗-๑๐๐.
L-Thongkum, T. (๒๐๐๒). Old Tai Dam (Black Tai) and the Meanings of Ambiguous Words in Modern Thai Elaborate Expressions. Paper presented at the ๑๒th Annual Conference of the Southeast Asian Linguistics Society (SEALS XII), May ๑๕-๑๗, ๒๐๐๒. Northern Illinois University, DeKalb.
Li, Fang – kuei. (๑๙๖๐). A Tentative Classifications of Tai Dialects. Culture in History Essay in Hornor of Paul Radin, (pp. ๙๕๑-๙๕๙). New York : Columbia University Press.
Li, Fang – kuei. (๑๙๗๗). A handbook of Comparative Tai. Hawii : The University Press of Hawii.
Labov, William A. (๑๙๗๒). Sociolinguistic Patterns. Pennsylvania : University of Pennsylvania Press.
Labov, William A. (๑๙๘๖). The social origins of sound change. Florida : Academic Press.
Orapin, Maneewong. (๑๙๘๗). A Comparative Phonological Study of Lao Song in Pechburi and Nakhorn Pathom Provinces. MA Thesis, Mahidol University.
Wang, William S-Y. (๑๙๖๙). Competing Changes as a Cause of Residue. Language, ๔๕, ๙-๒๕.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2016 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารข่วงผญา” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ