ทำนองเสียงขึ้น-ตก ในภาษาเขมรถิ่นสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • โสภิตา ถาวร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คำสำคัญ:

ทำนองเสียง, ทำนองเสียงตก-ขึ้น, ภาษาเขมรถิ่นสุรินทร์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทำนองเสียงในภาษาเขมรถิ่นสุรินทร์ กรณีศึกษาภาษาเขมรที่บ้านสวายจ๊ะ ตำบลสวาย อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ผลการศึกษาพบประเภททำนองเสียงที่แยกความหมายของประโยคให้ชัดเจนทั้งหมดสี่ประเภท ได้แก่ ทำนองเสียงตก ทำนองเสียงขึ้น ทำนองเสียงขึ้น-ตก และทำนองเสียงตก-ขึ้น ทำนองเสียงประเภทสุดท้ายนี้พบเพิ่มขึ้นจากงานในอดีตที่เคยมีผู้ศึกษาทำนองเสียงภาษาเขมรถิ่นเหนือไว้ (Yodmongkhon, 1986 และ Phon-Ngam, 1987) โดยมีลักษณะเฉพาะของรูปแบบการเปลี่ยนแปลงระดับเสียงสูงต่ำที่เกิดตลอดประโยคที่ใช้สื่อความหมายของประโยคเฉพาะต่างจากประเภททำนองเสียงอื่น ซึ่งพบว่าผู้พูดใช้ทำนองเสียงประเภทนี้อยู่บ่อยครั้ง

References

นววรรณ พันธุเมธา. (2551). ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมทรง บุรุษพัฒน์. (2551). สรศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.
อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล. (2549). สัทศาสตร์ (A course in Phonetics). กรุงเทพฯ: บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จำกัด.
Bolinger, Dwight. (1972). Intonation. Penguin Books.
Cruttenden, Alan. (1997). Intonation. Cambridge University Press.
Krissana Yodmongkhon. (1986). The Phonological Study Of Northern Khmer (Prakhonchai District, Buriram Province). M.A. Thesis (Linguistics), Bangkok: Mahidol University.
Lieberman, Philip. (1975). Intonation, Perception, And Language. Cambridge: The M.I.T. Press paperback.
Phon-Ngam, Prakorb. (1987). A Phonological Comparison Of Spoken Central Khmer (Phnom Penh) And Northern Khmer (Surin). M.A. Thesis(Linguistics), Bangkok: Mahidol University.
Sujinpram, Pornpen. (1989). Morphemes to clauses in Northern Khmer (Surin). M.A. Thesis (Linguistics), Bangkok: Mahidol University.

เผยแพร่แล้ว

21-12-2020