การพัฒนา Character Design บนพื้นฐานอัตลักษณ์ชุมชนสู่การสร้างแบรนด์
คำสำคัญ:
การออกแบบบุคลิกลักษณะ, การ์ตูนสัญลักษณ์, การสร้างแบรนด์, พื้นฐานชุมชน, อัตลักษณ์บทคัดย่อ
การพัฒนา Character Design บนพื้นฐานอัตลักษณ์ชุมชนสู่การสร้างแบรนด์ เป็นมานำเอาแนวคิดการดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานอัตลักษณ์ของชุมชน โดยใช้กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์องค์กรมาใช้ในการดำเนินธุรกิจ เพื่อส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าชุมชน และเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า อีกทั้งสร้างการจดจำและสร้างความแตกต่างระหว่างสินค้าประเภทเดียวกันที่เป็นคู่แข่งได้เป็นอย่างดี ซึ่งภาพลักษณ์องค์กรจะต้องแสดงบุคลิกลักษณะ ที่แตกต่าง มีคุณสมบัติเฉพาะตัว เพื่อสื่อสารให้บุคคลทั่วไปได้มีโอกาสรับรู้และเข้าใจถึงความเป็นองค์กรหรือชุมชนนั้น ๆ ต้องอาศัยการแสดงออกอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนภาพลักษณ์ (Image) ของชุมชน เหล่านั้นถูกสร้างสรรค์ขึ้นมาผ่านกระบวนการทางทัศนศิลป์ ประกอบไปด้วยรูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา และอารมณ์ความรู้สึก เป็นต้น นำไปสู่การพัฒนาต่อยอดในด้านการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิกและสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม
References
conclusions based on a student typology. In D. Forgays, T. Sosnowski and
K. Wrzensniewski (eds), Anxiety, Recent Development in Cognitive, Psychophysiological and Health Research, Washington: Hemisphere, pp.211-228.
Jaruwan Pengsiri. (2018). Family. Chiang Mai Rajabhat University and Tokyo Gakugei
University Exchange Art Exhibition 28-31 May 2018. Tokyo, Japan. P.6
Jaruwan Pengsiri. (2017). Mascot Design for Local Entrepreneur. Thailand – Japan
Contemporary Art Exhibition 5-18 August 2017. Chiang Mai, Thailand. P.41
Jefkins, Frank. (1993). Planned Press and Public Relations. 3rd. ed. Great Britain:
Alden Press.
Kline, C. and Blumberg, B. (1999). The Art and Science of Synthetic Character
Design. In: Proceedings of the Symposium on AI and Creativity in
Entertainment and Visual Art (AISB), Edinburgh, Scotland.
Kotler, Philip. (2000). Marketing Management. 10th edition. New Jersey: Prentice-Hall
Inc.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารข่วงผญา” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ