Legal Problems in Relation to Enforced Disappearance

Main Article Content

ปิติวรรณ ตันติชัยนุสรณ์
สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ

Abstract

The main objective of this independent study is to study and research upon the thought and theory regarding “force disappearance”, both domestically and internationally. In order to come up with the proposal on the solution of the potential issue, the independent study will be including an in-depth analytical and comparative study on the subject.


The study shows that the law on “force disappearance” was allocated in both Criminal Law Code and Criminal Procedure Code. However, the law, itself, is still not efficiently enforced and can be easily abused. Presumably, because this law can only be enforced by the official, and the alleged offenders are usually the official.


Therefore, in this independent study I aim to elevate the law on force disappearance to the international standard by proposing for the law itself to be amended and clarified.

Article Details

How to Cite
ตันติชัยนุสรณ์ ป., & ลิ่มประเสริฐ ส. (2022). Legal Problems in Relation to Enforced Disappearance. CRRU Law, Political Science and Social Science Journal, 6(2), 207–224. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/lawcrru/article/view/252712
Section
Research Aticle

References

คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ. คู่มือความเข้าใจเรื่องการบังคับให้บุคคลต้องสูญหาย. กรุงเทพฯ: คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ, 2550.

คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ. การสูญหายของบุคคลคือการสูญหายของความยุติธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แปลนพริ้นติ้ง, 2551.

คมกฤช หาญพิชาญชัย. “อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนให้พ้นจากการถูกบังคับให้หายสาบสูญ: ผลกระทบต่อประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

จารุพัฒน์ รูปสง่า. “ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองบังคับบุคคลให้สูญหายในประเทศไทย: ศึกษาการกำหนดฐานความผิดการบังคับบุคคลให้สูญหาย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561.

ธานิศ เกศวพิทักษ์. การดำเนินการทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร และทางตุลาการ ตามพันธกรณีที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคีของอนุสัญญาระหว่างประเทศเกี่ยวกับการต่อต้านการทรมานและบังคับบุคคลให้สูญหาย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2559.

เมธาวี คงพิกุล. “กฎหมายและมาตรการทางอาญาในกรณีเจ้าหน้าที่รัฐบังคับให้บุคคล สูญหาย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.

วิรัตน์ นาทิพเวทย์ และนัชมุดดีน อัตตอฮีรี. “ปัญหาจากการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีการบังคับบุคคลให้สูญหายจากข้อเท็จจริงในคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10915/2558.” วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 9, ฉ.17 (มิถุนายน 2562): 45.

สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. “ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญาตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเยอรมัน.” วารสารดุลพาห 1, ฉ.1 (เมษายน 2555): 192.

อนันต์ อริยะชัยพาณชย์. “หลักสิทธิมนุษยชน” เรื่อง มุมมองหลักสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2556.