ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ

Main Article Content

อธิษฐาน ใชยเรือง
ประมุข ศรีชัยวงษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ    2. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการมีส่วนร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ  3. เพื่อศึกษาปัญหาแนวทางการจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ โดยมีประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ผู้นำชุมชน และประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนบ้านหนองหญ้าปล้อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์ แบบเจาะจงกับกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดคำถามให้ตรงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ซึ่งผู้ให้สัมภาษณ์ได้แก่ บุคคลที่เกี่ยวข้องในภาครัฐ และบุคคลากรภาคประชาชน จำนวน 100 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา โดยอยู่บนพื้นฐานของหลักการและเหตุผล แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

ประมุข ศรีชัยวงษ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

Rajabhat Chaiyaphome University, Thailand.

References

คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่สัมฤทธิ์ผลในประเทศไทย
ในประเทศไทย วุฒิสภา. (2546). รายงานการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่สัมฤทธิ์ผลในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : วุฒิสภา
เครือขายอนุรักษ์ลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่. (2549). โครงการศึกษาสภาพปัญหาการจัดการน้ำ ในน้ำฝาง.
เครือขายอนุรักษลุ่มน้ำชมพู ตําบลชมพู อําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. (2555). โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และการจัดการทรัพยากรแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน ในพื้นที่ “ลุ่มน้ำคลองชมพู”.
ชินวัฒน์ สมสืบ. (2539). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
นนทบุรี. 167 น.
ไชยชนะ สุทธิวรชัย. (2536). ปัจจัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ศึกษาเฉพาะกรณี
อําเภอพานทองจังหวัดชลบุรี . วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 212 น.
ณชพงศ จันจุฬา. (2552). โครงการการวิจัยการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการลุ่ม
น้ำสายบุรี. กรณีศึกษา : การจัดการน้ำแบบรัฐและแบบชาวบ้าน ในพื้นที่ตำบลกาเยาะมาตี
อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส.
ปธา สุวรรณมงคล. (2527). การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า. รายงานการวิเคราะห์
โครงการปรับภาคราชการสู่ยุคโลกาภิวัตน์. โรงพิมพ์กองกลาง สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ
ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2542). เอกสารประกอบการศึกษาวิชาทฤษฎีและการพัฒนาชุมชน สาขา
พัฒนาชุมชน คณะสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 134 น.
ปราโมทย์ ไม้กลัด. (2550). การบริหารจัดการทรัพยากรแบบบูรณาการอย่างยั่งยืน (เอกสารโรเนียว). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ. (2558). คณะกรรมการกำหนดนโยบายและการ
บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ. กรุงเทพมหานคร.
พรเทพ สุขทรัพย์. (2556). ความรับผิดของรัฐในความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์
มหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไพรัช เตชะรินทร์. (2527). นโยบายและกลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนในยุทธศาสตร์การพัฒนา. ศักดิ์โสภณ
การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร. 234 น.
มหิธร วันยาพร. (2555). การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านชุมชนสัมพันธ์ของโรงงานซานมิเกล. การค้นคว้าอิสระ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช. (2540). และพุทธศักราช 2550 เว็บไซต์ “สิทธิชุมชน”.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดชัยภูมิ.(2554). ฐานข้อมูลด้านการประมงจังหวัดชัยภูมิ วันที่สืบค้นข้อมูล
10 เมษายน 2562 จาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดชัยภูมิเว็บไซต์ :
https://www.fisheries.go.th/sfchaiyaphum/data4/thanchaiyaphum.html
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน). (2555). การดำเนินการด้านการรวบรวม
ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โครงการพัฒนาระบบคลังข้อมูล 25 ลุ่มน้ำ และแบบจำลองน้ำท่วมน้ำ
แล้งลุ่มน้ำชี.
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (2556). สภาพปริมาณน้ำท่าลุ่มน้ำชี วันที่สืบค้นข้อมูล 10
เมษายน 2562 จาก สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร เว็บไซต์ : https://www.haii.or.th/wiki/index.php/
สุจิวรรณ รัตนประทีป. (2555). ความรับผิดของรัฐ: ศึกษากรณีการรับภาระเกินปกติ. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
สุจริต คณูธนกุลวงศ์ และคณะโครงการ.(2559). “การศึกษาด้านแหล่งน้ำเพื่อการจัดการน้ำ
ของลุ่มน้ำของลุ่มน้ำเชิงกลยุทธ์” (การพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำเชิงกลยุทธ์ภายใต้
ความเสี่ยงใหม่และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทัย เลาหวิเชียร และวรเดช จันทรศร (2526). การบริหารการพัฒนา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พลเรือน, กรุงเทพมหานคร. 231 น.
อำพร ฮกเจริญ. (2550). ปัญหาทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.